กระทู้เมื่อเร็วๆ นี้ กระทู้เมื่อเร็วๆ นี้

กระทู้เมื่อเร็วๆ นี้

หน้า: [1] 2 3
1
บอร์ดสนทนา / ห้องสมุด
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ มีนาคม 13, 2559, 03:21:51 PM »

หลักสูตร์พุทธศาสตร์
ที่พระพุทธเจ้าท่านประชุมสงฆ์
จตุรงคสันนิบาต
เพื่อการประกาศพรหมจรรย์
คือ
•   วิชาการ 4 คือ อริยสัจ
1.   ทุกขอริยสัจ=สภาวธรรม=ธรรมชาติ  (คือ)
2.   ทุกขสมุทัยอริยสัจ=สัจจะธรรม=กฎธรรมชาติ (มาจาก)
3.   ทุกขนิโรธอริยสัจ=ปฏิบัติธรรม=หน้าที่ธรรมชาติ (เพี่อ)
4.   ทุกขนิโรธคามินีปฏิปาทอริยสัจ=ปฏิเวธธรรม=ปรากฏการณ์ธรรมชาติ (โดยวิธีการ)
•   วิธีการ 3 คือ ไตรสิกขา
1.   ศีล =สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัป
2.   สมาธิ=เพียว มั่นคงชัดเจน ว่องไวทันการ บริสุทโธ สมาหิโต กัมนีโย (pure concentrate activeness)
3.   ปัญญา=รู้ครบถ้วนในสิ่งที่สังขารกันขึ้น
•   ปฏิบัติการ 8 คือ อริยมรรค
1.   สัมมาทิฏฐิ=เห็นความสามัญ
2.   สัมมาสังกัป=คิดโดยความสามัญ
3.   สัมมาวาจา=วาจาสัจจะ
4.   สัมมากัมมันตะ=การกระทำปราศจากตัวตน
5.   สัมมาวายามะ=ดำเนินไปโดยความมั่นคง
6.   สัมมาอาชีวะ=ดำรงชีวิตพอดี
7.   สัมมาสติ=รู้กิจปัจจุบัน
8.   สัมมาสมาธิ=บริสุทธิ์ ชัดเจนมั่นคง ว่องไวต่อปัจจุบัน บริสุทโธ สมาหิโต กัมนีโย
(นี้ คือ มหภาค)

ทางนี้ทางเดียว เพื่อคนๆเดียว ไปสู่จุดหมายเดียว เพื่ออึดใจเดียว จุดหมายปลายทางเดียว ความสงบอย่างเดียว
เอกาย โน ภิขเว มัคโค
สัมมาทิฏฐิ สมาทานัง สัพพัง ทุกขัง อุปัจคุง
ปราศจากทุกข์ได้โดยสมาทานส้มมาทิฏฐิ
ธัมมา เหตุปัพภวา เตสัง เหตุง ตถาคโต
สิ่งทั้งหลายล้วนมีเหตุ เกิดเพราะเหตุ ดับไปก็เพราะเหตุดับ
สิทธิ ธัมมา ปวตันติ
ธรรมชาติล้วนๆหมุนเวียนไป
 
วิชามี วิธีมา ปฏิบัติการปรากฏ


วิธีปฏิรูปคณะสงฆ์ไทย
              ให้ นิรโทษกรรมที่ทำผิดพระธรรม ผิดพระวินัย สงฆ์ไทยทั่วประเทศที่ทำผิดมาแล้ว ไม่เอาผิด   ให้เริ่มต้นใหม่ ตามพระธรรมพระวินัย ที่พระพุทธเจ้าประกาศใช้ อานาปาติโมกค์  ที่สวดกันทุกๆกึ่งเดือน   ผู้ที่เป็นสงฆ์ต้องมีพระวินัย ดังนี้
•   ปาติโมกค์ สังวร
•   อินทรี สังวร
•   อาชีวบริสุทธิ
•   จตุปัจจว ปัจจเวกขณ
•   พระสงฆ์ต้องมีสมบัติไม่ได้
•   พระสงฆ์โยกย้ายสมบัติผู้อื่นมาเป็นสมบัติของตนเกิน 5 มาสก หมดความเป็นสงฆ์ทันที ให้ยึดทรัพย์มาเป๊นของกรมศาสนา และจำคุก ด้วย
•   ผู้ที่จะบวรได้ต้องเป็นมนุษย์เท่านั้น มนุษย์ คือผู้ที่จิตใจสูงกว่าคน
•   ผู้ต้องคดีอาญาบวรไม่ได้
•   ผู้ต้องคดีการเมือง บวรไม่ได้
•   แม่พ่อไม่อนุญาตบวรไม่ได้
•   ภรรยาไม่อนุญาตบวรไม่ได้
•   เป็นโรคติดต่อบวรไมได้
•   ร่างกายทำหน้าที่อะไรไม่ได้บวรไม่ได้
•   กะเทย หญิงชายบวรไม่ได้
•   วิกลจริตบวรไม่ได้
•   ผู้หญิงบวรพระไม่ได้
            ผู้ที่บวรเป็นพระแล้วต้องประพฤติ ปฏิบัติตามธรรมตามวินัย ที่พระพุทธเจ้าท่านบัญญัติและแสดงไว้เท่านั้น คือ
1.   อริสัจ 4  เป็นวิชาการ
2.   ศีล สมาธิ ปัญญา  เป็นวิธีการ
3.   อริยมรรคมีองค์ 8  เป็นปฏิบัติการ
นอกจากนี้ไม่ได้   ถ้านอกจากนี้ต้องอาบัติปาราชิกพ้นจากการเป็นพระ ถ้าพระแสดงธรรมให้ผิดเพี้ยนจากที่พระพทธเจ้าท่านบัญญัติและแสดงถือว่าเป็นการตู่พุทธวจน ต้องศึกจาการเป็นพระสถานเดียว เป็นการตู่พุทธวจนเป็นกรรมอันหนัก
       ประเทศไทยจะได้มีพระจริง เสียที  ถ้าอย่างนั้นจะมีแต่คนแต่งตัวเหมือนพระประชาชนชาวไทยช่วยกันหน่อย  อย่ามัวหลงความดีเกียดความชั่วอยู่เลย อย่ามาเลี้ยงโจรอยู่เลยเป็นปาป อย่าหลงว่าเป็นบุญอยู่เลยไม่ใช่หลอกครับ  บุญต้องเป็นการกุศลที่ทำให้จิตสะอาด ความรู้สว่าง ชีวิตสงบ  พระพุทธเจ้าท่านแสดงธรรมเพื่อให้เวไนยสัตว์ปราศจากทุกข์   พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้แสดงธรรมเพื่อให้หาความสุขอย่าหลงประเด็น   จงตระหนักให้รอบครอบ

เจ้าชายสิทธัตถะรู้วิชาวิทยาศาสตร์อริยสัจ

อริยสัจ คือ ธรรมชาติ 4 อย่าง
1.   รู้ความเป็น ธาตุ ของธรรมชาติ
2.   รู้กฎของธรรมชาติ
3.   รู้กิจของธรรมชาติ
4.   รู้หน้าที่ๆจะปฏิบัติต่อธรรมชาตินั้น
วิทยาศาสตร์อริยสัจจึงมีลักษณ์ 4 อย่าง
1.   พิสูตรได้
2.   ทรงไว้โดยไม่ต้องอาศัยปัจจัย
3.   มีความเป็นธรรมต่อสิ่งที่สังขารกันขึ้น
4.   เป็นสิ่งที่บริสุทธิ์ที่เรียกมาดูได้
เมื่อเห็นความเป็นธรรมชาติ 4 อย่างโดยปริวัต 3 คือ
1.   ความรู้เป็นสัจจะ
2.   รู้กิจ
3.   รู้ความเป็นเช่นนั้น
ก็ปรากฏไตรสิกขาศาสตร์ คือ
1.   มีศีลปศาสตร์
2.   มีสมาธิศาสตร์ (บริสุทธิ์ ชัดเจนมั่นคง ว่องไว Pure Concentrate Activeness)
3.   มีปัญญาศาสตร์ (รู้ครบถ้วนในสิ่งที่สังเคราะห์กันขึ้น
เป็นหัตถศาสตร์ไปเป็นจริยศาสตร์(Ethics | Philosophy & Religion) ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์

                  ผู้ใดอธิบายพุทธศาสตร์ให้เป็นไศยศาสตร์ เป็นของลึกหลับเรียกมาดูไม่ได้ พิสูตรไม่ได้ เห็นไม่ได้ อธิบายเป็นตัวเป็นตน ไม่ใช่เป็นสิ่งที่สังเคราะห์กันขึ้น  ผู้นั้นตู่พระพุทธวจน เป็นกรรมอันหนัก ทำให้สังคมไม่สงบสันติ ทำให้การศึกษาทุกสาขาล้มเหลว เอาวิชานั้นไปใช้ไม่ได้ มีแต่ศึกษาไปให้เขาใช้ จะวุ้นวายแค่ไหนจงคิดดูซิ เป็นมนุษย์ไม่ได้ เป็นได้แค่คนเท่านั้น

มหาวิทยลัยพุทธศาสตร์ คือวัด
             เข้าศึกษาวิชา อริยสัจศาสตร์สาขาเดียว แต่คุมทุกๆสาขาวิชาบนโลกใบนี้
              การสอบเข้าศึกษามหาวิทยาลัยพุทธศาสตร์ ต้องสอบด้วยปากเปล่ามีข้อสอบมีดังนี้
1.   ต้องเป็นมนุษย์
2.   ต้องให้แม่พ่ออนุญาต
3.   ถ้ามีภรรยาให้ภรรยาอนุญาต
ข้อห้ามมีดังนี้
1.   เป็นคน เป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นเทวดาไม่ได้
2.   แม่พ่อไม่อนุญาตไม่ได้
3.   มีภรรยา ภรรยาไม่อนุญาตไม่ได้
4.   เป็นโรคติดต่อไม่ได้
5.   มนุษย์สองเพศไม่ได้
6.   มนุษย์แก่มากทำหน้าที่ไม่ได้ ไม่ได้
7.   มีหนี้ทรัพสินผู้อื่นอยู่ไม่ได้
8.   ต้องคดีอยู่ไม่ได้
9.   เป็นบุคลพิการไม่ได้
รับเป็นนักศึกษาแล้ว ต้อง
1.   ต้องใช้เครื่องแบบของสถาบัน ผ้าสีเหลือง 3 ชิ้น
2.   ต้องไม่มีทรัพย์สินเงินทองทั้งสิ้น รับมาก็เป็นของมหาวิทยาลัย
3.   ต้องประพฤติ ปาริสุทศีล 4
•   ปาติโมกข์สังวร(สีกขาบท 227 ข้อ)
•   อิทรีสังวรณ์ (ตาหูจมูกลิ้นกายใจ)
•   อาขีวบรืสุทธิ (ใช้ชีวิตอย่างบริสุทธิ์)
•   จตุปัจจยปัจเวกขณ(ใช้ส้อยปัจจัยพิจารณาอันควร)
นักศึกษามีสิทธิ์
1.   ที่พักไม่ต้องเสียค่าเช่า
2.   กฬิงการาหาร ชาวบ้านให้
3.   ค่าวิชาไม่ต้องเสีย
4.   ยารักษาโรคชาวบ้านให้
(นี้คือกติกาของมหาวิทยาลัยพุทธศาสตร์)
ว่าด้วยวิชา อริยสัจศาสตร์ มี 4 หัวข้อ
1.   ทุกขสภาว อริยสัจ-สภาวธรรม-คุณสมบัติของธรรมชาติ
2.   ทุกขสมุทัย อริยสัจ-สัจจะธรรม-กฎธรรมชาติ
3.   ทุกขนิโรธ อริยสัจ-ปฏิบัติธรรม-หน้าที่ธรรมชาติ
4.   ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา อริยสัจ-ปฏิเวธธรรม-วิถืทางปฏิบัติการต่อธรรมชาตินั้น
การศึกษาต้องให้รู้ชัดต่อธรรมชาติ 4 อย่างนั้นโดยปริวัต 3 คือ
1.   สัจจะญาณ-ความรู้เป็นสัจจะ
2.   กิจญาณ-รู้กิจของธรรม
3.   กตญาณ-รู้ความเป็นเช่นนั้นของธรรม
นักศึกษาต้องให้ชัดเจนใน 4 หัวข้อวิชาอริยสัจศาสตร์นี้โดยมีคุณสมบัติ ปริวัต 3 จึงได้ชื่อว่าจบวิชชาแล้ว ได้ปริญญาของวิชชาอริยสัจศาสตร์

              เมื่อได้ปริญญาวิชชาอริยสัจศาสตร์ แล้ว จะไปศึกษาวิชาไหนก็ได้บนโลกใบนี้โดยใช้อริยสัจศาสตร์เป็นหลักในการศึกษา  การศึกษานั้นจะดำเนินไปอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ ไม่มีปัญหา สงบมั่นคง ชัดเจนต่อวิชชานั้น
              ผู้ที่รู้ชัดแจ้งในวิชชาอริสัจ โดย ปริวัต 3 แล้วเป็นผู้มี
•   เป็นผู้มี ศีลป เห็นความสามัญ คิดอย่างสามัญ
•   เป็นผู้มี สมาธิ บริสุทธิ ชัดเจนมั่นคง ว่องไว
•   เป็นผู้มี ปัญญา รู้สิ่งที่สังขารกันขึ้นอย่างครบถ้วน
เป็นผู้มีเครื่องมือปฏิบัติหน้าที่โดยวิถืทางที่บริสุทธิ์บริบูรณ์ สงบสันติ นิพพาน
 
              เมื่อเกิดมาเป็นคนแล้ว จงอุบัติให้เป็นมนุษย์ให้จงได้ เมื่ออุบัติเป็นมนุษย์แล้วจงพบวิชชา อริยสัจศาสตร์ ให้จงได้
(เอกายโน ภิกขเว มัคโค  ทางนี้เป็นทางสายเดียว เพื่อคนๆเดียว เดินไปสู่จุดหมายเดียว เพื่ออุดเดียว สู่จุดหมายเดียว เพื่อสิ่งเดียว)
 
จาก โทร 092 442 9050
18/03/59

คุณค่าความเป็นมนุษย์
1.   ดำเนินชีวิตที่ไม่ปนเปื้อน              (ปาณาติปาตาเวรมณีสิกขาปทังสมาธิยามิ-มะ)
2.   ไม่โยกย้ายของผู้อื่นมาเป็นของตน (อทินนาทานา เวรมณีสิกขาปทังธิยามิ-มะ)
3.   ไม่มีกามสุขที่เป็นมิจฉา                 (กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณีสิกขาปทังธิยมิ-มะ)
4.   วาจาสัจจะ                                   (มุสวาทา เวรมณีสิกขาปทังธิยมิ-มะ)
5.   ไม่เมาความสุขนานาประการ          (สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณีสิกขาปทังธิยามิ-มะ)
ในการกล่าวปฏิญาณตนต่อหน้าพระสงฆ์โดยจะเว้นอย่างหมดจดอย่างแก้วมณี เพื่อความเป็นมนุษย์ เอาความเป็นมนุษย์ เพื่อแสวงหาธรรม ให้เห็นธรรม เห็นแจ้งในธรรม โดยหลักวิชชา 4 คืออริยสัจ วิชาที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ วิชชาอริยสัจโดยปริวัต 3 สัจญาณ กิจญาณ กตญาณ มีศีล สมาธิ ปัญญา  ปฏิบัติการ 8 มา ก็พบความเป็นพุทธะ ความคิดก็สะอาด ความรู้ก็สว่าง ทำหน้าที่ความเป็นมนุษย์ อย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ สงบสันติ นิพพาน

การฝึกสติที่สั้นที่สุดได้ผลที่สุด
คือ
•   จงรู้สิ่งที่พูด
•   จงรู้สิ่งที่ถูกรู้
•   จงรู้สิ่งที่คิด
คืออะไร-มาจากอะไร-เพื่ออะไร-โดยวืธีของสิ่งนั้นๆ
(นี้คือการฝึกสติที่สมบูรณ์ฝึกได้ทุกเวลาทีได้ทำอะไรอยู่)

1.   อย่าความรู้ไปพูด
2.   อย่าเอาความไปคิด
3.   อย่าเอาความรู้ไปทำ
ถ้าฝึกได้จะได้ผลทันที 
•   รู้สิ่งที่พูด จะพูดอะไรได้โดยเป็นไปตามธรรมช่าติของเรื่องนั้น
•   รู้สิ่งที่ถูกรู้ จะเห็นความสามัญ
•   รู้สิ่งที่คิด จะคิดโดยความสามัญ
 
พุทธนิกขนจงตระหนัก (1)
      วัดเป็นมหาวิทยาลัย ศึกษาอริยสัจศาสตร์ ผู้บวรเขาไปเป็นนิสิตนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเท่านั้น เป็นสถานที่ศึกษาวิชา 4 คืออริยสัจที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้  ไม่ใช่เป็นสถานที่บริจากทรัพย์สิน ผิดนโยบายของพระพุทธเจ้า ผู้ที่เคารพพระพุทธเจ้าต้องไม่ทำที่ผิดวัตถุประสงค์ของพระองค์   เพราะมหาวิทยาลัยนี้เรียนฟรีที่พักฟรีมีอาหารให้ฟรี

พุทธนิกขนจงตระหนัก (2)
      วัดเป็นมหาวิทยาลัยการศึกษาอริยสัจศาสตร์ ผู้ที่จะเข้าไปศึกษามหาวิทยาลัยนี้ต้องตรวจสอบโดยคณะสงฆ์มีองค์ประขุมคือ มีอุปัชฌาย์ 1 องค์ มีครู่สวด 2 องค์ พยาน 25 องค์ การตรวจสอบพยานต้องยอมรับทั้ง 25 องค์จึงจะผ่านรับเป็นนักศึกษาได้
     การตรวจสอบคือ
1.   ต้องเป็นมนุษย์ ไม่ใช่คน
2.   ต้องเป็นผู้ชาย
3.   แม่พ่อต้องอนุญาต
4.   ถ้ามีภรรยาต้องอนุญาต
5.   ต้องไม่มีโรคติดต่อ
6.   ต้องทำหน้าที่ศึกษาได้
7.   ต้องไม่มีนี้สิน
8.   ต้องเป็นผู้ที่ไม่ต้องคดีอะไรทั้งสิ้น
9.   เป็นคนสองเพศเป็นนักศึกษาสถาบันนี้ไม่ได้
ให้จรรยาบัน
1.   ปาติโมกสังวร  (วินัย 227 ข้อ)
2.   อินทรีสังวร   (ตาหูจมูกลิ้นกายใจ)
3.   อาชีวบริสุทธ์  (ใช้ชีวิตอย่างสะอาด)
4.   จตุปัจวปัจเวกขณะ (ใช้ส้อยปัจจัยโดยพิจารนาอันควร)
5.   ต้องไม่มีทรัพย์สินเงินทอง
6.   ของที่รับถวายต้องเป็นของกลางสงฆ์
7.   ต้องศึกษาพระธรรมให้สะอาด รู้พระธรรอย่างสว่าง ปฏิบัติพระธรรมอย่างสงบ  เห็นรู้วิชาอริสัจทั้งมหภาคและจุลภาค มีศีล สมาธิ ปัญญา เป็นเครื่องมีอทำหน้าที่ตามทางอริยมรรคอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์
นี้คือหลักสูตรวิชชาอริยสัจศาสตร์
พุทธนิกชนทั้งหลายจงเคารพธรรม พระพุทธเจ้าท่านเคารพธรรม พระพุทธเจ้าท่านตรัสว่า ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ถ้าไม่เห็นธรรมแม้แต่จับชายจีวรเราอยู่ก็ไม่เห็นเรา  จาก 092 442 9050

พุทธนิกขนจงตระหนัก (3)

            พุทธนิกชนทั้งหลาย จงมาศึกษาวิชชาอริสัจศาสตร์ เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ๆปราศจากปัญหาทั้งปวง วิชาอริยสัจเป็นวิชาที่สามาทอธิบายความได้อย่างขัดเจนของวิชาต่าง ๆที่ศึกษามาในโลกใบนี้   มีหลัก คือ อริยสัจ 4 เป็นมหภาค ความจริงของสิ่งที่สังขารกันขึ้น เป็นจุลภาค มี ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นเครื่องมือ มีอริยมรรคเป็นวิถีทาง
 
จาก โทร 092 442 9050 รับอบรมฟรี ส่วนมหภาค ส่วนจุลภาคเสียค่าเอกสารตามจ่ายจริง

พุทธนิกขนจงตระหนัก (4)
                พุทธนิกชนทั้งหลาย เกิดมาเป็นคนแล้ว ต้องเป็นมนุษย์ให้จงได้ ความเป็นมนุษย์อยู่ที่ ความเห็นความคิด ความเป็นคนอยู่ที่ร่างกาย  ร่างกาย คืออาร์ดแวร์  ความเห็นความคิดเป็นซอฟต์แวร์  ร่างกายคือรูป  จิตใจคือนาม ทำหน้าที่ร่วมกันอยู่จะแยกกันไม่ได้ จะทำหน้าที่เป็นอะไรอยู่ที่จิตใจ

อ่านต่อคลิกที่นี่
มหาวิทยลัยพุทธศาสตร์ คือวัด
             เข้าศึกษาวิชา อริยสัจศาสตร์สาขาเดียว แต่คุมทุกๆสาขาวิชาบนโลกใบนี้
              การสอบเข้าศึกษามหาวิทยาลัยพุทธศาสตร์ ต้องสอบด้วยปากเปล่ามีข้อสอบมีดังนี้
1.   ต้องเป็นมนุษย์
2.   ต้องให้แม่พ่ออนุญาต
3.   ถ้ามีภรรยาให้ภรรยาอนุญาต
ข้อห้ามมีดังนี้
1.   เป็นคน เป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นเทวดาไม่ได้
2.   แม่พ่อไม่อนุญาตไม่ได้
3.   มีภรรยา ภรรยาไม่อนุญาตไม่ได้
4.   เป็นโรคติดต่อไม่ได้
5.   มนุษย์สองเพศไม่ได้
6.   มนุษย์แก่มากทำหน้าที่ไม่ได้ ไม่ได้
7.   มีหนี้ทรัพสินผู้อื่นอยู่ไม่ได้
8.   ต้องคดีอยู่ไม่ได้
9.   เป็นบุคลพิการไม่ได้
รับเป็นนักศึกษาแล้ว ต้อง
1.   ต้องใช้เครื่องแบบของสถาบัน ผ้าสีเหลือง 3 ชิ้น
2.   ต้องไม่มีทรัพย์สินเงินทองทั้งสิ้น รับมาก็เป็นของมหาวิทยาลัย
3.   ต้องประพฤติ ปาริสุทศีล 4
•   ปาติโมกข์สังวร(สีกขาบท 227 ข้อ)
•   อิทรีสังวรณ์ (ตาหูจมูกลิ้นกายใจ)
•   อาขีวบรืสุทธิ (ใช้ชีวิตอย่างบริสุทธิ์)
•   จตุปัจจยปัจเวกขณ(ใช้ส้อยปัจจัยพิจารณาอันควร)
นักศึกษามีสิทธิ์
1.   ที่พักไม่ต้องเสียค่าเช่า
2.   กฬิงการาหาร ชาวบ้านให้
3.   ค่าวิชาไม่ต้องเสีย
4.   ยารักษาโรคชาวบ้านให้
(นี้คือกติกาของมหาวิทยาลัยพุทธศาสตร์)
ว่าด้วยวิชา อริยสัจศาสตร์ มี 4 หัวข้อ
1.   ทุกขสภาว อริยสัจ-สภาวธรรม-คุณสมบัติของธรรมชาติ
2.   ทุกขสมุทัย อริยสัจ-สัจจะธรรม-กฎธรรมชาติ
3.   ทุกขนิโรธ อริยสัจ-ปฏิบัติธรรม-หน้าที่ธรรมชาติ
4.   ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา อริยสัจ-ปฏิเวธธรรม-วิถืทางปฏิบัติการต่อธรรมชาตินั้น
การศึกษาต้องให้รู้ชัดต่อธรรมชาติ 4 อย่างนั้นโดยปริวัต 3 คือ
1.   สัจจะญาณ-ความรู้เป็นสัจจะ
2.   กิจญาณ-รู้กิจของธรรม
3.   กตญาณ-รู้ความเป็นเช่นนั้นของธรรม
นักศึกษาต้องให้ชัดเจนใน 4 หัวข้อวิชาอริยสัจศาสตร์นี้โดยมีคุณสมบัติ ปริวัต 3 จึงได้ชื่อว่าจบวิชชาแล้ว ได้ปริญญาของวิชชาอริยสัจศาสตร์

              เมื่อได้ปริญญาวิชชาอริยสัจศาสตร์ แล้ว จะไปศึกษาวิชาไหนก็ได้บนโลกใบนี้โดยใช้อริยสัจศาสตร์เป็นหลักในการศึกษา  การศึกษานั้นจะดำเนินไปอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ ไม่มีปัญหา สงบมั่นคง ชัดเจนต่อวิชชานั้น
              ผู้ที่รู้ชัดแจ้งในวิชชาอริสัจ โดย ปริวัต 3 แล้วเป็นผู้มี
•   เป็นผู้มี ศีลป เห็นความสามัญ คิดอย่างสามัญ
•   เป็นผู้มี สมาธิ บริสุทธิ ชัดเจนมั่นคง ว่องไว
•   เป็นผู้มี ปัญญา รู้สิ่งที่สังขารกันขึ้นอย่างครบถ้วน
เป็นผู้มีเครื่องมือปฏิบัติหน้าที่โดยวิถืทางที่บริสุทธิ์บริบูรณ์ สงบสันติ นิพพาน
 
              เมื่อเกิดมาเป็นคนแล้ว จงอุบัติให้เป็นมนุษย์ให้จงได้ เมื่ออุบัติเป็นมนุษย์แล้วจงพบวิชชา อริยสัจศาสตร์ ให้จงได้
(เอกายโน ภิกขเว มัคโค  ทางนี้เป็นทางสายเดียว เพื่อคนๆเดียว เดินไปสู่จุดหมายเดียว เพื่ออุดเดียว สู่จุดหมายเดียว เพื่อสิ่งเดียว)
 
         วัดเป็นสถาบันการศึกษา วิชชาอริยสัจศาสตร์  วัดไม่ใช่สถานที่รับบริจากเงิน วัดทานน้ำไหล สวนโมกข์ที่ท่านอาจารย์พุทธทาสเปิดขึ้นเป็นแบบอย่างเมื่อ พ.ศ. 2475 ใครเคยเอาอย่างบ้างไหม มันหน้าเศร่าใจขาวพุทธเรามัวแต่หาที่พึ่งไม่ทำตัวเองให้พึ่งได้เลย แล้วจะไปพึ่งใครกัน  จงเอาพุทธศาสตร์ให้ถูกต้องตามหลักอริยสัจศาสตร์ มนุษย์ชาติก็มีชีวิตที่ สะอาด มีความรู้ที่สว่าง  เดินทางอย่างสงบสันติ

           สังคมไทยสงบสุขได้โดยมีพุทธศาสตร์ที่สะอาดบริสุทธิตามธรรมวินัยที่พระพุทธเจ้าบัญญัติไว้
           การบวรตามธรรมวินัยที่บัญญัติไว้ คือ การศึกษา วิชชาอริยสัจศาสตร์อย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ ความคิดก็สะอาด ความรู้ก็สว่าง ก็ปรากฏศิลปศาสตร์ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นเครื่องมือทำหน้าที่โดยวิถีทางอริยมรรคเป็นทางที่ปราศจากปัญหา
           นี้คือการศึกษาวิชชาอริยสัจศาสตร์ให้ความเป็นมนุษย์อย่างบริสุทธิบริบูรณ์นี้คือบุญที่ไม่มีอะไรปนเปื้อน
            จงมาศึกษาอริยสัจศาสตร์ที่ถูกต้อง คือ
1.   ทุกขอริสัจ
2.   ทุกขสมุทัยอริสัจ
3.   ทุกขนิโรธอริสัจ
4.   ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริสัจ
1.   สภาวธรรม
2.   สัจธรรม
3.   ปฏิบัติธรรม
4.   ปฏิเวธธรรม
1.   ธรรมชาตื
2.   กฎของธรรมชาติ
3.   หน้าที่ธรรมชาติ
4.   ปรากฎการณ์ธรรมชาติ
1.   คืออะไร
2.   มาจากอะไร
3.   เพื่ออะไร
4.   โดยวิธีใด
       อริยสัจคือความจริงของสิ่งที่สังขารกันขึ้น(ความจริงของสิ่งที่สังเคราะณ์กันขึ้น)  อริยสัจที่สอนกันในสังคมไทยส่วนใหญ่สอนกันผิดจึงทำให้การศึกษาไม่ได้ผล ให้ความคิดที่สะอาด ความรู้ที่สว่าง การกระทำชัดเจนมั่นคงสงบ  จงมาศึกษาอริยสัจศาสตร์ให้ถูกต้อง ตามบัญญัติ ตามอัฐถะ ตามธรรม ก็เกิดการสัมฤทธิ์ผลแด่มนุษย์ได้อย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ สามารถศึกษาได้ทุกวิชาโดยใช้หลักอริยสัจศาสตร์ ให้วิชานั้นเกิดความสะอาด เกิดความสว่าง เกิดความเที่ยงตรงแม่นยำ
องค์กรสงฆ์ปฏิรูปังกันได้แล้วอย่าให้แย่ไปกว่านี้เลย
1.   ปฏิรูปในการอุปสมบท ให้เป็นไปตามคำสวดญัติในโบสถ์
2.   ปฏิรูป ผู้ทำการอุปสมบทให้เป็นไปตามพระวินัยพุทธ
3.   ปฏิรูป ผู้ได้รับการอุปสมบทให้เป็นไปตามพระวินัยพุทธ
4.   ปฏิรูปการดำเนินชีวิตของสงฆ์ให้เป็นไปตามพระวินัยของพุทธที่พระพุทธเจ้าบัญญัติไว้
องค์กรสงฆ์ก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้สังคมไทยไม่มีคุณภาพขาดวินัยอยู่ทุกวันนี้ องค์กรสงฆ์ต้องรับผิดชอบ ไม่ใช่บวชไปหาเงิน บวชไปสร้างวัตถุ พระไม่ต้องมีเงินเพราะชาวบ้านเขาเลี้ยงแล้ว พระไม่ต้องสร้างวัตถุ ให้ชาวบ้านเขาสร้าง  หน้าที่ของพระคือเข้าไปศึกษาธรรมสัจจะ คือ อริยสัจ ความจริงของสิ่งที่สังขารกันขึ้น ให้มีสัมมาทิฏฐิเท่านั้น ก็จะมี ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นวิธีการปฏิบัติเข้าสู่องค์มรรค นำทางสังคมเข้าสู่ความสันติ สงบร่มเย็นได้













                                                                                                                                                                                                                     
2
บอร์ดสนทนา / มาฆบูชา
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ กุมภาพันธ์ 20, 2559, 07:56:19 AM »


วันมาฆบูชา วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 3
               เป็นวันประชุมพระอริยสงฆ์ เรื่องจตุราอริยสัจ คือ ประชุมหลักวิชชา 4 อริยสัจ 4 ให้ภิกษุสงฆ์ไปประกาศพรหมจรรย์ ในหลักวิชชา 4อริยสัจ 4 จรน 3 ศีล สมาธิ ปัญญา ปฏิบัติ 8 อริยมรรคมีองค์ 8 เริ่มต้นก็งาม เนื้อหาก็บริสุทธิ์บริบรูณ์ด้วยความงาม  สิ้นสุดโดยความสมบูรณ์โดยความงาม
              ชาวพุทธจงตะหนักให้จงดี ในโอวาทปาติโมกข์ จึงชื่อว่าเคารพพระพุทธเจ้า
•   อริยสัจ 4 เป็นหลักวิชชา
•   ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นวิธีการ
•   อริยมรรคมีองค์ 8 เป็นปฏิบัติการ
จาก โทร 092 442 9050
3
บอร์ดสนทนา / พุทธศาสตร์เป็นวิทยาศาตร์
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ มีนาคม 11, 2558, 05:29:09 PM »


พุทธศาสนาเป็นวิทยาศาสตร์
เมื่อพูดถึง วิทยาศาสตร์ บางคนก็ไม่สนใจ เห็นเป็นเรื่องของคน
อีกพวกหนึ่งต่างหาก ไม่ใช่เรื่องของเรา, อาตมาก็เห็นใจคนเหล่านี้;
แต่ก็จะงดไม่พูดด้วยคำคำนี้ก็ไม่ได้ เพราะว่ามันกำลังมีปัญหา
ดังที่จะได้กล่าวให้ทราบต่อไป.
คำว่า วิทยาศาสตร์ นั้น เรายังเข้าใจกันอยู่แต่เพียงว่าเป็น
เรื่องวัตถุ เป็นเรื่องโลกๆ เป็นเรื่องของใหม่ๆ เป็นของทำ
เทียม เป็นของทำปลอม อะไรขึ้นมาหลอกคน, เข้าใจคำว่า
วิทยาศาสตร์ ไปเสียอย่างนี้ แล้วมันก็จะ พูดกันไม่รู้เรื่อง. ที่
จริงคำว่า วิทยาศาสตร์ นั้น ใช้เป็นคำเรียก สิ่งที่มีความจริง, และ
จริงชนิดที่ปรากฏเห็นๆอยู่ และจริงชนิดที่พิสูจน์ได้ ทดลองได้ไม่
ต้องอาศัยการคำนึงคำนวณ, ไม่ต้องอาศัยความเชื่ออย่างงมงาย,
ไม่ต้องอาศัย ความยึดมั่น อย่างละเมอเพ้อฝัน. อาตมาใช้ชื่อ
ชุดการบรรยาย นี้ว่า ธรรมะในฐานะวิทยาศาตร์ นี่ก็เพราะว่า
มันเป็นความจริง ที่ธรรมะนั้น มันเป็นวิทยาศาสตร์, เราไม่รู้
ความจริงข้อนี้ ก็เลยไม่เข้าใจ ก็เกิดความชะงักงัน หรือยังเป็น
หมัน ในการที่จะใช้ธรรมะ อย่างกะว่า เป็นวิทยาศาสตร์
สิ่งซึ่งมิใช่วิทยาศาสตร์ นั้น มีอีกมากมาย ที่เขาพอใจ หลงใหล
กันนัก ในสมัยนี้ ก็คือ สิ่งที่เรียกว่า ปรัชญา, คล้ายกับว่า โลก
สมัยนี้ เป็นโลกที่ เห่อปรัชญา, การเห่อปรัชญา ก็จะเป็นโรค
ระบาดเต็มโลก; อาตมาก็ต้อง ป้องกันตัว ไว้เสียก่อน คือป้อง
กันตัวของพระพุทธศาสนา หรือป้องกันตัวให้แก่พระพุทธศาสนา
ว่าอย่าให้ โรคเห่อปรัชญา มาครอบงำเอาพระพุทธศาสนา, ให้
พุทธศาสนาสามารถจะแยกตัวออกมาอยู่ในรูปของวิทยาศาสตร์
สำหรับจะได้เรียนกันอย่างเรียนวิทยาศาสตร์, สำหรับจะได้ปฏิบัติ
กัน อย่างปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ จึงได้พยายามชี้ให้เห็นว่า
ธรรมะในฐานะวิทยาศาสตร์.
ทีนี้ ก็จะทำความเข้าใจให้ชัดลงไปอีกว่า คำว่า ธรรม ในที่นี้
คืออะไร คำว่า ธรรมในที่นี้ ก็คือ คำที่เราใช้เป็นชื่อของสิ่งที่
เรามักเรียกกันว่า ศาสนา, ซึ่งข้อนี้ก็เคยพูดมามาก แล้วว่า
ในสมัยโบราณ โดยเฉพาะครั้งพุทธกาล นั้นเขาใช้คำว่า ธรรม
เรียกชื่อ สิ่งที่เราเรียกกันในปัจจุบันนี้ว่า ศาสนา, เช่น ปัจจุบันนี้
ถามกันว่า ท่านถือศาสนาอะไร? ในครั้งกระโน้น เขาจะถามกัน
ว่า ท่านถือธรรมะอะไร, ธรรมะข้อไหน, ธรรมะของใคร? ฉะนั้น
ตัวศาสนาก็คือตัวธรรมนั่นเอง, และการที่เอามาพูดในวันนี้คำว่า
ธรรม ในที่นี้ก็หมายถึง ระบบของพระพุทธศาสนา, พุทธศาสนา
ทั้งระบบ เราเอามาเรียกด้วยชื่อสั้นๆว่า ธรรมหรือธรรมะ, แล้ว
อยากจะให้รู้จัก สิ่งที่เรียกว่า ธรรม หรือ ธรรมะนี่แหละ ว่ามัน
เป็นเรื่องวิทยาศาสตร์, มันไม่ใช่เรื่องปรัชญา.
ถ้าเป็นเรื่องปรัชญา จะไม่เป็นตัวธรรมที่เป็นตัวศาสนา หรือ
ดับความทุกข์ได้, มันจะเป็นธรรมชนิดที่ไม่เกี่ยวกับความดับ
ทุกข์ มันจะเป็นเพียงธรรมสำหรับเรียน สำหรับรู้ สำหรับถก
เถียงกันเท่านั้นเอง. ฉะนั้นขอให้ท่านทั้งหลายสนใจให้ดีว่า
เมื่อพูดถึงธรรมในที่นี้ ก็คือ ธรรมที่เป็นตัวศาสนาที่สามารถ
ปฏิบัติได้, และครั้งปฏิบัติแล้วก็ดับทุกข์ได้.
ในบัดนี้ มีปัญหาคาราคาซัง กันอยู่ในที่ทั่วๆไป คือมีคนบาง
พวก กำลังเถียงกันอยู่ เกี่ยวกับคำว่า ศาสนา หรือคำว่าธรรม
ในที่นี้. เขาเถียงกันว่า พุทธศาสนานี้เป็นปรัชญา ไม่ใช่เป็น
ศาสนา อย่างนี้ก็มี; นี่เพราะเขาไม่รู้ ความหมาย ของคำว่า
ศาสนา หรือรู้เป็นอย่างอื่นไปเสีย. อาตมา เคยบอกมาหลาย
ครั้งหลายหนแล้วว่า ถ้าเป็นศาสนา จะต้องเป็นวิทยาศาสตร์,
ถ้าเป็นพุทธศาสนา จะต้องเป็นใน รูปของวิทยาศาสตร์, ไม่
เป็นไปใน รูปของปรัชญา ซึ่งเราจะต้อง ทำความเข้าใจกัน
ให้ชัดเจนต่อไป. เดี๋ยวนี้ มัวแต่ เถียงกันไป เถียงกันมา ว่า
พุทธศาสนา เป็นปรัชญา ไม่ใช่เป็นศาสนา ดังนี้บ้าง, และยัง
มีที่เถียงกัน พูดกันว่า พุทธศาสนานั้น ขัดกับวิทยาศาสตร์
ดังนี้บ้าง.
การพูดว่าขัดกับวิทยาศาสตร์นั้น สำหรับคนในสมัยปัจจุบันนี้
เขาถือว่ามันเป็นเรื่องใช้ไม่ได้, ถ้ามันขัดกับหลักวิทยาศาสตร์
แล้ว มันก็ไม่เป็นความจริง. นี้เขาหาว่า พุทธศาสนา ขัดกับ
หลักวิทยาศาสตร์; เราบอกว่า ไม่ใช่เป็นอย่างนั้น, พุทธศาสนา
นั่นแหละ เป็นเรื่องวิทยาศาสตร์ เสียเอง, บางคนเป็นไปมาก
จนถึงกับว่าพุทธศาสนามิใช่ศาสนาไปเสียอีก อย่างนี้ก็มี, ด้วย
เขาไปหลงในปรัชญาให้พุทธศาสนากลายเป็นปรัชญา, เขาจึง
เรียนพุทธศาสนากัน แต่ในรูปแบบของปรัชญา เลยทำให้ ดับ
ทุกข์ไม่ได้ นี่ขอให้สนใจคำที่อาตมากำลังยืนยันว่า ถ้าเรียน
พุทธศาสนา กันใน รูปแบบของ ปรัชญา แล้ว จะไม่ดับทุกข์,
มันจะไม่เป็นการดับทุกข์. เราต้องเรียน พุทธศาสนา กันใน
รูปแบบของ ศาสนา ที่มีลักษณะ เป็นวิทยาศาสตร์ แล้วก็ปฏิบัติ
ลงไปได้จริงๆ จนดับทุกข์ได้.
พุทธศาสนาไม่ใช่ปรัชญา, พุทธศาสนาไม่ใช่วิชาจิตวิทยา,
พุทธศาสนาไม่ใช่วิชาตรรกวิทยา, พุทธศาสนาไม่ใช่ลัทธิ
สำหรับเชื่ออย่างงมงาย; แต่พุทธศาสนาเป็นเรื่องจริงของ
ธรรมชาติ อย่างที่เรียกกันว่า เป็นวิทยาศาสตร์ สำหรับปฏิบัติ
เพื่อดับทุกข์ ตามกฏของธรรมชาติ โดยตรง. ฉะนั้น เราจง
มารู้จักพุทธศาสนา ในฐานะเป็นเรื่องวิทยาศาสตร์ กันเสีย
ให้ถูกต้อง, จะได้ป้องกันโรคเห่อปรัชญา ที่กำลังระบาด จะ
คลุมโลกทั้งหมด; โรคเห่อปรัชญานี้ กำลังระบาดมาก จะ
คลุมโลกทั้งหมด เป็นโรคเสียอย่างนี้เสียแล้ว ก็ศึกษาพุทธ
ศาสนา ให้สำเร็จประโยชน์ไม่ได้, จึงขอโอกาส มาทำความ
เข้าใจ เรื่องนี้ กันเสีย สักคราวหนึ่ง ให้ถึงที่สุด. อาตมาก็รู้สึก
ว่า คงเป็นที่เบื่อหน่าย ของท่านทายกทายิกาบางคน เพราะ
มันเป็น เรื่องที่ฟังดูแล้ว มันคล้ายกับ คนละเรื่องของตน, แต่
อาตมาก็ได้บอกแล้วข้างต้นว่า มันเป็นความจำเป็น ที่จะต้อง
พูดกันเรื่องนี้ จึงขอโอกาสพูดเรื่องนี้ โดยชี้แจง ให้ชัดเจน
เป็นตอนๆ ไปตามลำดับ จนกว่า จะเพียงพอ.
นี่สรุปความว่า เหมือนกับขอให้ท่านบางคนทนฟัง เรื่องที่ไม่
ชวนฟัง สำหรับท่าน, แต่อาจจะชวนฟังอย่างยิ่ง สำหรับคนบาง
คน หรือ บางท่าน, อาตมาจะทำอย่างไรก็ลองคิดดู มันต้องพูด
เพื่อความจริง ให้รู้ความจริง แล้วก็พูดเพื่อให้สำเร็จประโยชน์
ในการที่จะใช้ พระพุทธศาสนา ให้เป็นประโยชน์, แล้วก็จะ
ป้องกัน พระพุทธศาสนา ให้พ้นจาก ภัยอันตราย ของโรค
ระบาด คือการเห่อปรัชญา ให้หันมามองดู พระพุทธศาสนา
ในฐานะเป็นเรื่องวิทยาศาสตร์.
โดย ท่านอาจารย์พุทธทาสภิกษุ

พุทธศาสตร์ต้องเป็นวิทยาศาสตร์
          พุทธศาสตร์ต้องเป็นวิทยาศาสตร์  ไม่ว่าอย่างไรก็เป็นได้ เพราะว่าพระพุทธเจ้าท่านแสดงธรรม โดยเห็นสิ่งที่ เป็นไปได้ ไม่ใช่เรื่องของกาลเวลา  เรียกมาพิสูจน์ได้  นำมาปฏิบัติได้  ปัจจัยนั้นเห็นโดยปัญญาได้ทุกคน  และมีคุณสมบัติ 4 อย่าง
1.   ลักษณะ  คือ ทนต่อการพิสูจน์
2.   อาการ  คือ การดำรงอยู่โดยไม่ต้องอาศัยปัจจัย
3.   กิจจะ  คือ มีความเป็นธรรมในสิ่งที่สังขารกันขึ้น
4.   รส  คือ มีความบริสุทธิ์ที่เอามาพิสูตรในตนได้ (มี วิมุตติ เป็น เอหิปัสสิโก)
อริยสัจ 4 ประการ เป็นวิทยาศาสตร์ คือ
1.   ทุกขสภาวอริยสัจ คือ ธรรมชาติ
2.   ทุกขสมุทัยอริยสัจ คือ กฎของธรรมชาติ
3.   ทุกขนิโรธอริยสัจ คือหน้าที่ของธรรมชาติ
4.   ทุกขนิโรธมรรคามินีปฏิปทาอริยสัจ คือ วิถีทางปรากฏการณ์ของธรรมชาติ
เป็นความจริงของที่สังขารกันขึ้น  ทุกสิ่งทุกอย่างปรากฏขึ้นโดยการสังขารกันขึ้นอย่างความเป็นธรรม  มีเหตุให้ปัจจัยนั้นๆ อาศัยกันปรากฏขึ้น มีลักษณะ 3 อย่าง คือ
1.   เป็นสิ่งที่สังขารกันขึ้น  คือ อนัตตา
2.   เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลง คือ อนิจจัง
3.   เป็นสิ่งที่ทนอยู่สภาพเดิมไม่ได้ คือ ทุกขัง
หลักของพุทธศาสตร์  มี
1.   วิชาการ 4 คือ อริยสัจ 4
2.   วิธีการ 3 คือ ไตรสิกขา
3.   ปฏิบัติการ 8 คือ อริยมรรค

ภาคการศึกษาและปฏิบัติต้องเห็นกิจนั้นเป็นวิชาการในขั้นตอน 4 อย่างธรรมชาติ เห็นคุณสมบัติของธรรมชาติ  เห็นกฎของธรรมชาติ  เห็นกิจของธรรมชาติ  เห็นความเป็นเช่นนั้นของธรรมชาติ  คิดอย่างสะอาดบริสุทธิ์  รู้อย่างสว่าง ชัดเจน ครบถ้วน  นิ่ง แน่นอน ปราศจากวิจิกิจฉา วิธีการ 3 อย่างก็ปรากฏเป็นเครื่องมือไว้ปฏิบัติต่อชิ้นงานนั้นๆ อย่างมีศีล สมาธิ ปัญญา ดำเนินไปโดยวิถีทางอริยมรรคอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์  สงบ นิพพาน
ศีล สมาธิ ปัญญา คือ
•   ศีล คือ เห็นความสามัญของกิจนั้น  คิดโดยความสามัญของกิจนั้น (สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ)
•   สมาธิ คือ คิดอย่างสะอาดบริสุทธิ์  รู้อย่างสว่างสงบชัดเจนมั่นคง  เห็นอย่างว่องไว (บริสุทโธ สมาหิโต กัมนีโย)
•   ปัญญา คือ รู้สิ่งที่สังขารกันขึ้นอย่างครบถ้วน ณ กาลนั้น เทศะนั้น (ปัญญาต้องรู้สิ่งที่ถูกรู้เท่านั้น  เอาความรู้ไปรู้เป็นสัญญา)
            นี้คือที่พระพุทธเจ้าให้โอวาทปาติโมกข์ แด่ภิกษุสงฆ์ 1,250 รูปให้ประกาศพรหมจรรย์ เริ่มต้นงาม เนื้อหางาม สิ้นสุดงาม (อาทิกัลยาณัง มัชเฌกัลยาณัง ปะริโยสานะกัลยาณัง)
           มาศึกษาวิชชาพุทธศาสตร์กันให้ถูกต้องกันหน่อย จงอ่านหนังสือให้ออกอย่าอ่านอย่างผิดๆกันอยู่เลย ภาษาในพระไตรปิฎกเป็นภาษาวรรณคดี บทสวดมนต์ก็เป็นภาษาวรรณคดี  พระพุทธเจ้าท่านประกาศพรหมจรรย์โดยหลักวิชาการ 4 วิธีการ 3 ปฏิบัติการ 8 เท่านั้นทางเดียว  พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้ประกาศศาสนา คำว่าศาสนา กับคำว่า พรหมจรรย์
•   คำว่า “ประกาศพรหมจรรย์” คือ การประกาศความประพฤติพร้อมทั้งวิชาการ วิธีการ ปฏิบัติการอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ เพื่อการดำรงตนอย่างถาวร ให้เห็นธรรม เป็นพุทธ ทำหน้าที่โดยวิถีทางอริยมรรคเป็นสังฆะโดยตน
•   คำว่า “ประกาศศาสนา” คือ การให้พึ่ง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
         จงพิจารณาดู จะเคารพคน หรือ เคารพธรรม  ถ้าตามอย่างพระพุทธเจ้าก็ตัองเคารพธรรม พระพุทธเจ้าท่านก็เคารพธรรมก็เห็นธรรมเป็นพุทธะ ดำเนินชีวิตโดยวิถีทางอริยมรรค ถ้าตามอย่างผีก็เคารพคน ก็ดำเนินชีวิตอย่างอ่อนแอต้องหาที่พึ่งอยู่ตลอดไปไม่รู้จบใช้ชีวิตในที่มืดออกจากที่มืดไม่ได้ มีชีวิตอย่างเปรตอยากได้อะไรก็ขอเอา
       ท่านทั้งหลายมาเดินทางแห่งชีวิตแบบพุทธะกัน โดยมาทำความรู้จักธรรมชาติที่อยู่รอบตัวให้เห็น คุณสมบัติของธรรมชาติ  เห็นกฎธรรมชาติ  เห็นกิจของธรรมชาติ  เห็นปรากฏการธรรมชาติเป็นเช่นนั้น   เมื่อเห็นธรรมชาติอย่างครบถ้วนบริสุทธิ์บริบูรณ์  ก็จะมีเครื่องมือปฏิบัติหน้าที่เข้าสู่วิถีทางอริยมรรคอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์   เครื่องมือนั้นคือ มีศีล เกิดสมาธิ ดำเนินไปโดยปัญญา นี่คือเครื่องมือในการปฏิบัติหน้าที่
•   มีศีล คือ เห็นความสามัญสิ่งที่สังขารกันขึ้น  คิดอย่างความสามัญ  สองอย่างรวมกันคือมีศีล  (สัมมาทิฏฐิ  สัมมาสังกัปปะ)
•   มีสมาธิ คือ เห็นรู้อย่างบริสุทธิ์  มีความชัดเจน มั่นคง  ว่องไว  ซึ่งรวมกัน คือ การมีสมาธิ  (บริสุทโธ สมาหิโต กัมนีโย)
•   ปัญญา คือ เห็นรู้ในสิ่งที่สังขารกันขึ้น อย่างครบถ้วน บริสุทธิ์ บริบูรณ์ ซึ่งมีสองส่วน คือ ความรู้ กับ สิ่งที่ถูกรู้
เมื่อเห็นสิ่งที่ถูกเห็น เมื่อรู้สิ่งที่ถูกรู้ เป็นธรรมชาติ  กฎของธรรมชาติ กิจของธรรมชาติ ผลของธรรมชาติ อย่างชัดเจน ก็เป็นผู้มี ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นเครื่องมือปฏิบัติหน้าที่โดยธรรมอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์

เหล่านี้คือการเป็นวิทยาศาสตร์ของพุทธศาสตร์โดยแท้จริง

การคิดโดยพุทธศาสตร์                                                                         
•   การพ้นทุกข์โดยไม่รู้อริยสัจนั้น เป็นไปไม่ได้
•   เพราะไม่รู้อริยสัจ  จึงต้องแล่นไปในสังสารวัฏ
•   สัตว์เกิดกลับมาเป็นมนุษย์มีน้อย  เพราะไม่รู้อริยสัจ
•   ความมืดบอดของโลก  มีตลอดเวลาที่พระตถาคตไม่อุบัติขึ้น
•   อริยสัจสี่  เป็นสิ่งคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
•   ความรู้สึกของบุถุชน  ไขว้อยู่เสมอต่อหลักอริยสัจ
•   ผู้ติดเหยื่อโลก ชอบฟังเรื่องกาม ไม่ฟังเรื่องสงบ
•   การฟังอริยสัจ  เหมาะสำหรับจิตที่ปราศจากสังขารแล้วเท่านั้น
•   จิตที่ยังไม่ปราศจากสังขาร  ไม่มีโอกาสจะเห็นนิโรธอริสัจ
•   สัตว์โลก  รู้จักความสงบสันติ  ต่อเมื่อปัญญาปรากฏ
•   ผู้ไม่รู้อริยสัจ ย่อมหลงสร้างเหวแห่งความทุกข์เพื่อตัวเอง อยู่ร่ำไป
•   ผู้รู้อริยสัจ หาหลงสร้างทุกข์ขึ้นเพื่อตัวเองไม่
•   ผู้ไมรู้อริยสัจ  ชื่อว่าตกอยู่ในความมืด
•   ผู้รู้อริยสัจเป็นหลักอยู่ในใจ ย่อมไม่มีอาการสั่นสะเทือนเพราะถูกยกวาทะ  ดุจเสาหิน
•   ผู้ประกอบด้วยวิชา  คือผู้มีความรู้สี่อย่าง
•   อย่าคิดเรื่องโลก  แต่คิดเรื่องอริยสัจ
•   เมื่อยังไม่ทรงรู้อริยสัจ ก็ยังไม่ชื่อว่า  ได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
•   ถ้าไม่รู้เบญจขันธ์โดยนัยอริยสัจก็ยังไม่ทรงปฏิญญาเป็นพระพุทธเจ้า
•   พระพุทธองค์ ทรงพระนามว่า สัมมาสัมพุทธะ  ก็เพราะได้ตรัสรู้อริยสัจ
•   ทรงรอบรู้โลก  ก็เพราะรู้อริยสัจ
•   ทรงบันลือสีหนาท ประกาศจตุราอริยสัจ
ระเบียบความคิด
ความเห็นมี สิ่งที่ถูกเห็นมี เกิดการเรียนรู้ขึ้น ใจมี จงเอาความรู้ไปคิด จิตมี โดยใช้วิธีคิด ที่มีระเบียบวินัยในการคิด  มีระเบียบอะไรก่อน อะไรหลัง  มีวินัยในการคิด อะไรควรอยู่ตรงไหน  ก็จะเกิดเห็นความสามัญของสิ่งนั้น โดยมีวินัยในความคิด   เมื่อเข้าไปเกี่ยวคล่องกับสิ่งได ก็จะเห็นสิ่งที่ถูกเห็นโดยเห็นความสามัญของสิ่งนั้นทันทีโดยไม่ต้องเอามาคิด  ความคิดที่เป็นความสามัญก็จะปรากฏทันที  (นี้คือศีล)    ก็จะรู้สิ่งนั้นเพรียวๆ   แบบบริสุทธิ์   มีความชัดเจนมั่นคง ไม่หวั่นไหว ปราศจากนิวรณ์โดยสิ้นเชิง   ( นี้คือสมาธิ   หรือนิโรธ )  ก็รู้ฉับไวต่อกองสังขารนั้น รู้คบทั่วในกองสังขารโดยสัจจะทั้งสี่อย่าง  เหมือนของที่ค่ำกลับหงายขึ้น  ไม่มีอะไรปิดบังซ่อนเรนอีกต่อไป  (นี้คือปัญญา )
        จรึงไม่มีอะไรที่หนักหรือมีภาระอีกต่อไป  ทำอะไรก็เสร็จทุกๆเรื่อง ทุกๆสังขาร   จะทำกิจกรรมอันไดเมื่อเห็นความสามัญความบริสุทธิ สะอาด  ความชัดเจนมั่นคงมีศักยภาพ  ว่องไวต่อกองสังขารนั้น  นี้คือทำหน้าที่โดยธรรม
นี้คือปฏิบัติธรรม  นี้คือมัชฌิมาปฏิปทา  จะนำวิธีคิดอย่างนี้ไปศึกษาอะไรก็ได้     เช่น  พุทธิศึกษา  จริยศึกษา  พลศึกษา  หัตถศึกษา 
1.   พุทธิศึกษา  คือ  รู้แบบตื่นแบบเบิกบาน  ไม่รู้แบบหลับแบบเชื่อคนอื่น เชื่อตำรา   ศึกษาให้ประจักรต่อสิ่งนั้น  ในองค์ 4 อย่างหรือสัจ 4 อย่าง  1 เห็นรู้ธรรมชาติของสิ่งนั้น  2 เห็น รู้ขบวนการหรือองค์ประกอบของธรรมชาติ  3 เห็นรู้ หน้าที่ของธรรมชาตินั้น   4 เห็นรู้ผลหรือปรากฏการของธรรมชาติ
2.   จริยศึกษา คือ  พฤติหรือการทำหน้าที่ โดยธรรม
3.   พลศึกษา  คือ พลังความรู้  พลังความคิด  ศักยภาพ  ปราศจากพยาธิความคิด พยาธิร่างกาย  ปราศจาก 3 อ.  1  อ.  อคติ  2 อ.อัตตา 3 อ.อวิชา
4.   หัตถศึกษา คือ ความถนัด ความชำนานต่อหัตถกรรมนั้น











4
บอร์ดสนทนา / อริยะสร้างได้
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ มีนาคม 08, 2558, 02:06:50 AM »


เลี้ยงลูกให้มีความเป็นอริยะ อริยะสร้างได้
           เริ่มต้นคลอดลูกออกมาวันแรกให้รับแสงน้อยที่สุดให้เพิ่มทีละหน่อยภายในหนึ่งอาทิตย์ ลูกหิวนมให้ลูกกินอิ่มแล้วให้ลูกนอนต่อไม่ต้องเอาลูกมาอุ้มไว้ ให้ลูกตอบสนองสิ่งแวดล้อมเอง อย่าไปสร้างสิ่งเร้าลูกที่เกินพัฒนาการของลูก อย่าไปสร้างสิ่งเร้าให้ลูกอารมณ์เสีย อย่าเล่นกับลูกแรงๆเกินพัฒนาการของลูก อย่าคิดอะไรให้ลูก จงดูลูกตอบสนองอะไรเรา  เมื่อลูกโตมาพอพูดได้ จงพูดกับลูกในสิ่งที่ลูกเกี่ยวข้องเท่านั้น อย่าคิดแทนลูก จงพูดกับลูกโดยความจริงเท่านั้น แม้แต่พูดเล่นก็ต้องเป็นคำพูดที่จริง อย่าบังคับลูกให้ทำสิ่งที่ลูกทำสิ่งนั้นไม่ได้ แม่พ่ออย่าทำสิ่งที่ไม่ดีให้ลูกเห็น อย่าสอนให้ลูกเอาอย่างบุคลนั้นบุคลนี้ จงแสดงให้ลูกเห็น สิ่งนั้นคืออะไร สิ่งนั้นประกอบอย่างไร สิ่งนั้นมีเพื่ออะไร จะได้สิ่งนั้นมาโดยวิธีใด ถ้าลูกทำอะไรผิด ไม่ต้องไปดุด่าลงโทษลูก จงอธิบายให้ลูกฟังถูกทำอย่างไร แม่พ่ออย่าพูดกับลูกโดยความประชด แม่พ่ออย่าตั้งความหวังไว้ให้ลูกได้อย่างที่เราต้องการ แม่พ่อจงรักลูกที่ลูกมี อะไรก็ดีทั้งนั้นถ้าอยู่ถูกที่ของเขา แม่พ่ออย่าเอาความรู้ของเราไปสอนลูกจงแสดงสิ่งที่ลูกรู้อยู่ แม่พ่อที่มีความรู้ เอาความรู้ไว้รู้สิ่งที่ลูกรู้ เราเป็นผู้ใหญ่ต้องเข้าใจเด็ก เพราะเด็กไม่เคยเป็นผู้ใหญ่มาก่อน แต่เราผู้ใหญ่เคยเป็นเด็กมาก่อน แม่พ่อลูกเรามีโอกาสสร้างใยประสาทให้จาก 1 วันถึงประมาท 10 ปีเท่านั้น เมื่อแม่พ่อมีโอกาสทำเลย อย่ามัวหาโอกาสไม่มีโอกาสให้หาหลอกครับ บุตรเป็นทรัพย์กรบุคลที่ล่ำค่าของแม่พ่อ  วันเด็กไม่ใช่มีปีระหนึ่งวัน เด็กมีชั่วหนึ่งของชีวิตเท่านั้น ปกติของมนุษย์เราพันธุกรรมมีผลประมาท 10 เปอร์เซ็นต์ สิ่งแวดล้อมมีผลประมาท 90 เปอร์เซ็นต์ เพราะเช่นนี้เราต้องสนใจเรื่องปัจจัยแวดล้อมให้บริสุทธิ์บริบูรณ์ เรามาบริหารเหตุที่ปัจจัยนั้นๆให้เกิดผลที่สร้างสันต์ที่ควรจะต้องเป็นมิไช่หรือ



ของขวัญให้เด็ก
จากวันนี้เด็กต้องอ่านหนังสือได้
อ่านออกไซร้ให้เข้าใจให้รู้แจ้ง
บอกในสิ่งที่พูดไปให้หายแคลง
รู้สิ่งที่ซึ่งแสดงทำออกมา
รู้ภาษากิริยามารยาท
รู้วิชาอย่างสะอาดพิสุทธ์หนา
สว่างด้วยวิธีที่นำพา
ปฏิบัติโดยสงบมาฝ่าฟันไป
เด็กยุคนี้คืออนาคตในวันหน้า
จงเลี้ยงดูแลหาไร้เงื่อนไข
จงให้ของกับเด็กด้วยหัวใจ
เด็กจึงโตเป็นผู้ใหญ่ที่แข็งแรง

 





5
บอร์ดสนทนา / ห้องสมุดพุทธศาสตร์
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ กุมภาพันธ์ 16, 2558, 05:54:21 PM »


หลักสูตรพุทธศาสตร์ที่บัญญัติไว้ในพระไตรปิฎก 8400 ธรรมขันธ์
มีหลักสูตรคือ
1.   วิชชาการ 4 (อริยสัจ 4)
2.   วิธีการ 3 (ศีล สมาธิ ปัญญา)
3.   ปฏิบัติการ 8 (อริยมรรคมีองค์ 8)
เริ่มต้นต้องศึกษาอริยสัจ 4 ให้เห็นแจ้งรู้จริงในรูปวิชาการ อริยสัจ 4 คือ
1.   ธรรมชาติ
2.   กฎของธรรมชาติ
3.   กิจของธรรมชาติ
4.   ปรากฏการณ์ของธรรมชาติ
อริยสัจประกอบด้วยสี่ส่วนจรึงมีคุณลักษณ์ 4 อย่างคือ
1.   ลักษณะ- ทนต่อการพิสูท
2.   อาการ- ทรงอยู่โดยไม่อาศัยปัจจัย
3.   กิจ- ครอบงำสังขารทั้งหลาย
4.   รส- มีวิมุตที่เรียกมาดูได้
อริยสัจ 4 คือ ความจริงของสิ่งที่สังขารกันขึ้น คือ
1.   เห็นธรรมชาติของปัจจัยที่จะมาสังขารกัน
2.   เห็นกฎขบวนการของการสังขาร
3.   เห็นหน้าที่ของการสังขาร
4.   เห็นผลปรากฏการสังขาร
             ทุกสิ่งทุกอย่างปรากฏขึ้นโดยการสังขารประกอบโดยรูปนามให้เห็นเป็นธรรมชาติล้วนๆดำเนินไปเท่านั้นก็ประจักเป็นวิชาที่บริสุทธิ์บริบูรณ์วิธีการก็ปรากฏมีเครื่องมือ เป็นผู้ที่มีศีล ศีลทำให้ปรากฏสมาธิ สมาธิทำให้รู้สิ่งที่สังขารกันขึ้นอย่างครบถ้วนคือปัญญา  ศีล สมาธิปัญญาเป็นเครื่องมือที่จะปฏิบัติหน้าที่นั้นๆได้โดยวิถีทาง 8 ประการอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์นี้คืออริยมรรคมีองค์ 8 ประการ คือ
1.   สัมมาทิฏฐิ- เห็นความสามัญ
2.   สัมมาสังกัปปะ –คิดโดยความสามัญ
3.   สัมมาวาจา- วาจาสัจจะพูดสิ่งที่เป็นสัจจะบัญญัติ
4.   สัมมากัมม้นตะ- การกระทำไม่มีตัวตนมีแต่การกระทำหาผู้ทำมีไม่
5.   สัมมาอาชีวะ- ดำรงค์ชีวิตอย่างปกติมีความพอดี
6.   สัมมาวายามะ- ดำเนีนไปโดยความมั่นคง
7.   สัมมาสติ-รู้กิจต่อหน้าอย่างทั่วถึงครบถ้วน
8.   สัมมาสมาธิ-เห็นรู้อย่างบริสุทธิ์ ขัดเจนมั่นคง ว่องไวต่อสิ่งที่สังขารกันขึ้นอย่างทั่วถึงครบถ้วน
     นี้คือ “นิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจจัง” ท่านทั้งหลายจงใช้ข้อมูลความเปลี่ยนแปลงความไม่คงที่ความไม่คงรูป มาพิจารณาให้ท่องแท้ อะไรคือสังขาร อะไรคือธรรม มาแยกแยะให้ชัดเจนอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ จงมาศึกษาว่า ปัจจัยที่มีเหตุให้สังขารกันขึ้นนั้นโดยความเป็นธรรมได้อย่างไร ศึกษาโดยนัยธรรมชาติ 4 อย่าง (อริยสัจ 4)ให้จงได้ นี้คือวิชาการที่ครอบงำสิ่งที่สังขารกันขึ้น “ที่พระพุทธองค์กล่าวว่า สิ่งทั้งหลายมีความเปลี่ยนแปลงเป็นธรรมดา ท่านทั้งหลายจงยังความไม่ประมาทเถิด”  นี้คือศึกษาแบบมีวิชา  ถ้าวิชามี วิธีมา ปฏิบัติการปรากฏ นึ้คือหลักวิชาพุทธศาสตร์ ถ้าท่านศึกษาอย่างนี้ จะได้ผลทันทีขาตินี้ ไม่ต้องใช้เวลา เป็นอะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีตี นึ้คือจิตสะอาดใจสว่างชีวิตสงบ
     มาอ่านหนังสือให้ออกกันไหม
•   คำว่า สังขาร คือ ปรุง หรือการสังเคราะห์กันขึ้น  ร่างกายไม่ใช่สังขาร แต่ร่างกายสังขารกันขึ้น มาทำความเข้าใจให้ชัดเจนกันก่อน เพราะคำว่าสังขารเป็นข้อมูลทุกสิ่งทุกอย่างที่ปรากฏขึ้นในทุกๆวิชาการ ใช้คำว่าสังขารไม่เที่ยง ผิดอัฐผิดธรรม ต้องใช้คำว่าสิ่งที่สังขารกันขึ้นไม่เที่ยง
•   คำว่า ประมาท คือ เมาทั่ว เมาไม่เหลือส่วนที่ไม่เมา
•   คำว่า อวิชชา คือ ไม่ใช่วิชชา  ใช้คำว่าไม่รู้ ผิดอัฐผิดธรรม
•   คำว่า จิต คือความคิด
•   คำว่า ใจ คือความรู้
จงจำคำนี้ไว้ในการศึกษาธรรมชาติ ทุกอย่างสังขารกันโดยธรรมชาติ
•   หลักวิชา 4 วิธีการ 3 ปฏิบัติการ 8
•   เห็น คิด รู้
•   วิชชาสะอาด วิธีสว่าง ปฏิบัติราบรื่น
•   วิชามี วิธีมา ปฏิบัติการปรากฏ
•   ทุกอย่างสังขารขึ้นโดยธรรมชาติ ต้องบริหารจัดการอย่างธรรมชาติ โดยธรรมชาติ
•   จิตสะอาด ใจสว่าง ชีวิตสงบ
•   อคติไม่มี อัตตาไม่มา ปัญญาปรากฏ
•   ในโลกนี้ไม่มีอะไรที่ไม่ใช่ธรรมชาติ
•   จะศึกษาวิชาใดต้องศึกษาให้รู้จักธรรมชาติของวิชานั้น
•   ธรรมชาติมีคุณสมบัติ 4 อย่าง คือ
1.   ธรรมชาติ
2.   กฎของธรรมชาติ
3.   กิจของธรรมชาติ
4.   ปรากฏการของธรรมชาติ
1.   คืออะไร
2.   มาจากอะไร
3.   เพื่ออะไร
4.   โดยวิธีใด


             

              วิชฃานี้ครอบคลุมทุกๆวิชชาการ ถ้าต้องการศึกษาวิชาการนี้ต้องศึกษาสื่อสานสองทางก่อน จาก โทร 060 004 7762-092 442 9050


ทำกิจกรรมอย่างไรเป็นกุศล
               กิจกรรมสิ่งใดที่เป็นกุศลกิจกรรมนั้นจะมีผลคือบุญ บุญมีคุณสมบัติชำระล้างจิตใจให้สะอาดปราศจาก อคติ อัตตา อวิชา  บาปมาจากจิตใจที่ไม่สะอาด บาปเปรียบเสมือนสนิมเหล็ก สนิมเหล็กเกิดจากเหล็กที่ไม่สะอาดเกิดทำลายเหล็กเอง ถ้าเวรกรรมตามมาคงตามไม่ทันหลอกเพราะกรรมมันตาม
              ทำกุศลกับพระมีผลเป็นบุญ ความเป็นแม่พ่อเป็นพระอริยของบุตร พระในธรรมวินัยนี้ต้องมีปาริสุทธศีล 4 คือ
1.   ปาติโมกข์สังวร สังวรในสิกขาบท 227
2.   อินทรีสังวร  สังวรใน ตา หู จมูก ลิ้น กาย
3.   อาชีวบริสุทธิ ดำรงชีวิตอย่างบริสุทธิ
4.   จตุปัจจัยปัจเวขณ ใช้ส้อยปัจจัยพิจารนาอันควร ไม่เอาปัจจัยมาเป็นของตนไม่ได้ เกินมูลค่า 20 บาทต้องปราชิกสิ้นสุดแห่งความเป็นพระทันที
           ผู้ที่ถวายปัจจัยให้ผู้ที่แต่งตัวเหมือนพระเป็นบาป “พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นผู้เลี้ยงโจร “เป็นบาป จงอย่าทำกุศลเพื่อการแลก จงอย่าทำกุศล เพื่อสวย เพื่อรวย เพื่อความโชกดี เพื่อไม่เจ็บไม่จน ต้องไม่ขอเอา “พระพุทธเจ้าไม่ได้แสดงธรรมให้ขอเอา” เมื่อจิตสะอาด ใจก็สว่างเห็นสิ่งนั้นได้อย่างชัดเจนครบถ้วน ก็มีวิธีการปฏิบัติหน้าที่นั้นๆในวิถีทางที่สมบูรณ์ ผลผลิตก็ย่อมสมบูรณ์เป็นธรรมดา  เมื่อเหล็กบริสุทธิจะมีสนิมได้อย่างไร
         ผู้ที่มุงหวังบุญจงทำกิจกรรมอันใดต้องไม่มี อคติ อคติไม่มี อัตตาไม่มา วิชาปรากฏ กิจกรรมนั้นย่อมเป็นกุศลผลบุญปรากฏ ให้จิตสะอาด ใจก็สว่าง ชีวิตก็สงบ นิพพาน “พระพุทธเจ้าตรัสว่านิพพานเป็นบรมธรรม”

   

                                   ธรรรมมะคืออะไร
ธรรมมะคือ  ธรรมชาติ
ธรรมมะคือ  กฎของธรรมชาติ
ธรรมมะคือ  หน้าที่ตามกฎของธรรมชาติ
ธรรมมะคือ  ผลอันเกิดขึ้นจากการทำหน้าที่นั้น
 
พระพุทธคือ  ความรู้ที่บริสุทธิ์บริบูรณ์
พระธรรมคือ  ธรรมชาติของทุกสิ่งทุกอย่าง โดย ของที่ถูกเห็นโดยความบริสุทธิ์บริบูรณ์
พระสงฆ์คือ  ทำหน้าที่โดยความเป็นธรรมต่อหน้าที่ธรรมชาตินั้น
       ( นี้คือสิ่งที่ท่าน ต้องมี ต้องปรากฏในบุคลิกของท่าน )
 
 
 
     ศีลคืออะไร
     ศีลมาจากอะไร
     ศีลเพื่ออะไร
     ศีลโตยวิธีได
1.   ศีล คือ สัมมาทิฏฐิ  สัมมาสังกัป     คือความเห็นความสามัญของสิ่งที่ถูกเห็น  คิดความสามัญของที่เห็น คือ ศีล   ศีลมิใช่สิกขาบท 5-8-10-227 ถ้ายังละเมิดสิกขาบทเหล่านี้อยู่ก็ต้องละเว้นให้หมดจดก่อนจรึงจะมาสมาทานสัมมาทิฏฐิ (สัมมาทิฏฐิ สมาทานัง สัพพัง ทุกขัง อุปัจจคุง)
2.   ศีล มาจากสมาทานสัมมาทิฏฐิ  (สัมมาทิฏฐิ สมาทานัง สัพพัง ทุกขัง อุปัจจคุง)
3.   ศีล เพื่อดำเนินไปในกิจการนั้นๆโดย มีเทคนิค  โดยมีศิลปะ  [art]
4.   ศีล  โดยวิธีทำให้ เห็นสิ่งที่ถูกเห็น คิดสิ่งที่เห็น โดยความบริสุทธิ์ 
ท่านจงทำความประจักษ์ในคุณสมบัติของศีล ก็จะได้สมาทานสัมมาทิฏฐิ ท่านก็จะมีศีล การที่มีศีลก็จะปรากฏสมาธิ  (บริสุทโธ  สมาหิโต  กรรมนีโย )
 
 
 
1. สมาธิคือ อะไร
2. สมาธิมาจาก อะไร
3. สมาธิเพื่อ อะไร
4. สมาธิโดยวิธีใด
สมาธิ คือ  เอกคตาจิตที่มีนิพพานเป็นอารมณ์
สมาธิ มาจาก  ความบริสุทธิ์หนึ่งเดียว  ความชัดเจนมั่นคง  ความว่องไว (บริสุทโธ  สมาหิโต  กรรมนีโย)
สมาธิ เพื่อเห็นกองสังขารให้ครบถ้วน  คือสภาวะของปัญญา
สมาธิ  โดย  มีศีล เห็นความสามัญสิ่งที่มาสัมผัสกับ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ  คิดความเป็นสามัญของสิ่งที่มาสัมผัส    โดยความบริสุทธิ์ หนึ่งเดียว จงเห็นสิ่งที่ถูกเห็น จงรู้สิ่งที่ถูกรู้  อย่าเอาความรู้ไปรู้   อย่ารู้เห็น  จงเห็นรู้   เมื่อเห็นรู้อะไรเพียวๆแล้วก็จะ ชัดเจนมั่นคง เมื่อมีความมั่นคง ก็จะว่องไว พร้อมที่จะทำหน้าของ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ  โดยปราศจากนิวรณ์  5 ประการ
1.   กามฉันทะ / ความพอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจ[content]
2.   พยาบาท / การคิดปองร้ายผู้อื่น[vengefulness]
3.   ถีนะมิทธะ / ความที่จิตหดหู่    เชื่องซึม[to lament]
4.   อุทธัจจะกุกกุจจะ / ความฟุ้งซ่าน รำคาญใจ[to be annoyed by sty.]
5.   วิจิกิจฉา / ความลังเลสงสัย[to suspect]
ก็จะปรากฏความ  สะอาด  สว่าง  สงบ   ไม่เกิด แก่ เจ็บ ตาย ในโอปาฏิกะ กำเนิด  ก็จะทำหน้าที่โดยมัชฌิมาปฏิปทาโดยปราศจากทุกข์  เราก็คือ ธรรมชาติ  ทำหน้าที่ๆธรรมชาติมีให้ทำ  ทำเสร็จแล้วก็ส่งคืนธรรมชาติไป ก็จะนิพพานทุกๆหน้าที่      นิพพานเป็นบรมธรรม เป็นอย่างยิ่ง  พระพุทธเจ้าท่านกล่าว
องค์ของสมาธิ  ประกอบด้วยองค์ 3
1.   บริสุทโธ    [เพียว pure]
2.   สมาหิโต   [ชัดเจนมั่นคง  concentrate ]
3.    กัมนีโย  [พร้อมที่จะทำหน้าที่นั้นๆ  activeness ]
 
 
?     ปัญญา คือ อะไร
?     ปัญญา มาจากอะไร
?     ปัญญา เพื่อ อะไร
?     ปัญญาดำเนินไปโดยวิธีใด
 
1.   ปัญญา คือ ความเห็นรู้คบถ้วน  ในกองสังขารนั้นโดยในสัจจะ 4 อีกในหนึ่งหรือโดยวิชชา 4  จรึงบัญญัติว่าปัญญา
2.   ปัญญา มาจาก ธรรมชาติธาตุรู้ กลับธรรมชาติสิ่งที่ถูกรู้  ปฏิจปสมุปันธรรมกันขึ้น   สมังคีกันโดยความสมบูรณ์
3.   ปัญญา เพื่อ สมังคี กลับ ศีล สมาธิ ปรากฏเป็นไตรสิกขา เพื่อเป็นเครื่องมือ ทำหน้าที่ของธรรมชาติโดยธรรมชาติ ก็จะดำเนินไปโดยวิถีทางมัชฌิมาปฏิปทา
4.   ปัญญา ดำเนินไปโดยทำหน้าที่อย่างสมบูรณ์กลับทุกสิ่งที่สัมผัสเกี่ยวคล่อง ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ  โดยวิถีทางมัชฌิมาปฏิปทา เป็นวิถีทางที่ปราศจากทุกข์  เพราะไม่ได้เกิดจะเป็นทุกข์ได้อย่างไร  การเกิดทุกครั้งเป็นทุกข์ทุกครั้ง  การที่ทำหน้าที่โดยมีวิธีการ 3 อย่าง คือมี ศีล สมาธิ ปัญญา จรึงได้ทำหน้าที่โดยหน้าที่ โดยเห็นวิชชา 4  หรือสัจ 4 อย่างของสิ่งที่สังขารกันขึ้น  จึงปรากฏวิธีการ 3 อย่าง เพื่อทำหน้าที่ๆไม่มีคนทำ มีแต่การกระทำกลับสิ่งที่ถูกกระทำ  จึงได้ปราศจากเจตนา  ตามที่พุทธพจกล่าวว่า (เจตนาหัง ภิกขเว กัมมัง ) คำว่าเจตนาคือการกระทำที่มีผู้กระทำจึงปรากฏการเกิด ถ้าเกิดแล้วจะไม่ทุกข์ได้อย่างไร  ความเกิดเป็นสิ่งที่สังขารกันขึ้น เป็นธรรมชาติที่มีลักษณะ 3 อย่าง    (1) มีธรรมชาติเป็นทุกข์ มีภาพทนอยู่สภาวะเดิมไม่ได้ (2) มีธรรมชาติเปลี่ยนแปลง รู้สึกต่ออารมณ์ (3) มีธรรมชาติมิใช่ตัวตน อาศัยการสังขารกันขึ้น   
                       เมื่อเห็นรู้สัจจะ 4 อย่างแล้วก็จะมีเครื่อง 3 อย่างทำหน้าที่ของธรรมชาติโดยธรรมชาติ นั้นคือวิถีทาง 8 อย่าง คือมรรคมีองค์ 8 เมื่อทำหน้าที่ๆสมบูรณ์ ก็ผลิตผลก็สมบูรณ์ สร้างศักยภาพให้กับผู้ทำหน้าที่ ก็จะตั้งบนวิหารธรรมของสมัตตะ 10 อย่าง  มีธรรมเป็นกัญยามิตร จะถึงความไม่ตาย มัชจุราชมองไม่เห็นตัวสงบสันติ  สะอาด สว่าง สงบ ฯ
   เมื่อท่านอุบัติขึ้นมาในโลก นี้แล้ว ทำหน้าที่ ได้เท่านี้ก็เพียงพอแล้วมิใช่หรือ จะต้องการอีกเล่า
 
 
หลักของพุทธศาสตร์มีวิชชา 4 อย่าง ปฏิบัติการ 3 อย่าง
วิชชาการ 4 อย่างคือ อริยสัจ
1.   ทุกขอริยสัจ-สภาวธรรม-ธรรมชาติ
2.   ทุกขสมุทัยอริยสัจ-สัจธรรม-กฎของธรรมชาติ-ขบวนการของธรรมชาติ
3.   ทุกขนิโรธอริยสัจ-ปฏิบัติธรรม-หน้าที่ของธรรมชาติ
1.   ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ-ปฏิเวธธรรม-ผลของธรรมชาติ-ปรากฏการณ์ของธรรมชาติ
คุณสมบัติของอริยสัจ
      ลักษณะ?ทนต่อการพิสูจน์
      อาการ?ดำรงอยู่โดยไม่ต้องอาศัยเหตุปัจจัย
      กิจจะ?มีความเป็นสัจจะในสังขารทั้งหลาย ครอบงำสังขารทั้งหลาย
      รส?มีวิมุตเป็นเอหิปัสสิโก เรียกมาดูได้
คุณสมบัติของผู้เห็นรู้อริยสัจ (เห็นรู้ธรรม)
      สัจจานุรักขนา-ตามรักษาซึ่งสัจจะ
      สัจจานุโพธา-ตามรู้ซึ่งสัจจะ
      สัจจานุปัตติ-ตามถึงซึ่งสัจจะ
ปฏิบัติการ 3 อย่างคือ ศีล สมาธิ ปัญญา
1.   (ศีล) ? คุณสมบัติของผู้มีศีล? สัมมาทิฏฐิ  สัมมาสังกัป ?เห็นความสามัญ ดำริความสามัญ
2.   (สมาธิ)บริสุทโธ สมาหิโต กัมนีโย  ?คุณสมบัติผู้มีสมาธิ? สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ-วาจาสัจ การกระทำที่ปราศจากตัวตนดำรงค์ชีวิตโดยธรรม ดำเนินไปโดยธรรม
3.   (ปัญญา)  ?คุณสมบัติของผู้มีปัญญา? สัมมาสติ สัมมาสมาธิ เห็นรู้ในกองสังขารธรรมคบอริยสัจ 4
 
(ถ้าผู้ไดเห็นธรรม 4 อย่างผู้นั้นเห็นพุทธ  ผู้นั้นก็จะ เป็นพระพุทธ  เห็นพระธรรม  เป็นพระสงฆ์ มี ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นปฏิบัติธรรมโดยมัชฌิมาปฏิปทา โดยปราศจากการเกิดอีกต่อไป)  การเกิดทุกครั้งเป็นทุกข์ทุกครั้ง ถ้าไม่เกิดจะเอาอะไรมาเป็นทุกข์ ทำไม่จึงต้องมาดับทุกข์   ถ้ามีทุกข์แล้วจะดับทุกข์ได้อย่างไร เปรียบเหมือนไฟติดแล้วจะไปดับไฟจะดับได้อย่างไร   ทำไมไม่ทำให้ปัจจัยที่ทำให้ไฟติดไม่สังขารกัน ไฟก็ไม่ติด  ก็เมื่อไฟไม่ติดจะมีความร้อนได้อย่างไร  ก็เช่นเดียวกันเมื่อไม่เกิดก็ไม่เป็นทุกข์ อย่าให้เหตุปัจจัยสังขารกันขึ้นเป็นเราของเรา อย่างที่คำบาลีกล่าวว่า  (อะนิจจา  วะตะ  สังขารา  อุปปาทะวะยะธัมมิโน  ปัชชิตวา  นิรุชฌันติ  เตสัง  วูปะสะโม  สุโข)   สิ่งที่ปรุงกันไม่คงที่วนเวียน ไปเสียจากความหมาย ก็ปราศจากสิ้นเชิง ปลงแล้วซึ้งทุกข์ในที่นั้น     ถ้าท่านเห็นสัจธรรมในกองสังขาร  สิ่งที่อยู่ต่อหน้าเวลานี้เดี่ยวนี้  นี่คือใบไม้ที่อยู่ในมือแม้แต่เล็กน้อยเราก็ใช้ประโยชน์ได้   ส่วนใบไม้ที่มากมายที่ยังไม่ได้อยู่ในมืออย่าเพิ่งไปรู้มันเลย  ไว้เมื่อมันมาอยู่ในเมื่อคอยรู้มันเถิดฯ
 
 
 
ว่าด้วยเรื่องสติปัสฐาน 4
กาย  เวทนา  จิตต  ธรรม
   ก่อนอื่นต้องรู้จักแจ้งในตัวเราเองก่อน คือเบญจขันธ์ ทั้ง 5 อย่าง คือรู้จักอารมณ์ของตัวเราเอง เป็นสมุฐานของการเกิดภพชาติ   เพราะว่าฐาน 4 เป็นที่ตั้งแห่งกิจกรรมของเรา นั่ง ยืน เดิน นอน ถ้าเราไม่รู้อารมณ์ 5 อย่างของเราๆก็เอาอารมณ์ในจำนวน 5 อย่างเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างในจำนวน 5 อย่างนั้น ไปรู้สิ่งที่ถูกรู้เสียก่อน ตามอนุสัยเดิม  ?อยตนนั้นหรือสิ่งนั้นก็ถูกเติมธาตุอะไรลงไปอีกหนึ่งธาตุ หรือหลายธาตุ แล้วจึงได้รู้ ก็ถูกด้วย แต่ทว่าถูกอย่างทีปรุงขึ้นใหม่ นี่แหละคือรู้แบบอวิชชา ไม่รู้ความเป็นไปตามของเดิม เอาอารมณ์ จำนวน 5 อย่างไปเพิ่มเดิมแล้วจึงรู้ เจ้าตัวจึงว่ารู้ถูกแล้ว ก็ถูกแต่ถูกอย่างไรไม่รู้ จึงทำกิจกรรมนั้นไปโดยไม่รู้จบ นี่คือ วตสังขารา ที่ว่าไว้ในบังสุกุลตาย


คู่มืออยู่อย่างนิพพาน 22
05-02-2012 Views: 446
         ต้องรู้ความปกติก่อน จึงจะรู้ความไม่ปกติ
•        ผู้มีศีล คือผู้เห็นความปกติของสิ่งนั้น
•        รูปลักษณ์ที่เป็นศีลปะ คือรูปลักษณ์ที่เป็นปกติ
•        ดูอย่างเป็นศีล  คือดูความปกติ
•        มีศีลปะการใช้ชีวิต คือใช้ชีวิตอย่างปกติในฐานรูปนั้น
•        นิพพาน คือความปกติ
•        อย่าไปหาของที่ไม่รู้จัก  จะไปหาของที่ไม่มี จะพบได้อย่างไร
•        จงรู้สิ่งที่พูด  อย่าเอาความรู้มาพูด
•        จงฟังเรื่อง  อย่าฟังคน
•         
         การศึกษาของเราเวลานี้ เราศึกษาจากบัญญัติส่วนหนึ่ง กับธรรมชาติส่วนหนึ่ง เราต้องมาทำความเข้าใจกับบัญญัติให้ชัดเจน บัญญัติมาจากอรรถ อรรถมาจากธรรม บุคคลใดจะบัญญัติอะไรต้องเห็นธรรมก่อนจึงมาหาความหมายของธรรมนั้นจึงจะบัญญัติลงไป  คำบัญญัตินั้นเป็นแค่สูตรเท่านั้น จงศึกษาสูตรให้เป็นศาสตร์ให้จงได้ ศาสตร์ คือ วิชชาการ คือ อริสัจที่ฟ้าชาย    สิทธัตถะตรัสรู้สิ่งนั้นโดยตน จึงได้ปรากฏขึ้นของความมี  ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นเครื่องมือ ปฏิธรรมโดยวิถีทางของอริมรรคมีองค์ 8 อย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ สงบสันติ นิพพาน  เราท่านจงมาศึกษาส่วนที่เป็นบัญญัติให้ถึง อรรถถึงธรรม อย่าไปมักง่ายกับบัญญัติ จะเป็นปัจจัยให้เสียทิดทางการศึกษาไปเบื่อต้น  จะทำให้ไม่พบศาสตร์นั้นๆได้เลย พุทธศาสตร์เป็นศาสตร์ที่สมบูรณ์ที่สุดในการพัฒนามนุษย์ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ที่สุด เป็นวิชชาบริหารจัดการได้ทุกเงื่อนไข เป็นวิชชา MBA อย่างสมบูรณ์ เพิ่มศักย์ภาพในการทำหน้าที่ ทำไม่เราไปเอาวิชชานี้มาเป็นที่ผึ่งหรือเป็นศาสนาเสียเล่า  จงเอาวิชชาพุทธศาสตร์เป็นคุณสมบัติความประพฤติและความเห็น เป็นตัวเราเอง โดยใช้หลักสูตร 4 อย่างของอริยสัจ คือ ความจริงของสิ่งที่สังขารกันขึ้น อย่างรอบครอบลึกซึ้ง ให้ประจักธรรมชาติของสิ่งนั้นโดยตน  พ้นจากการเวลา เรียกมาให้ตน  คนนำมาปฏิบัติ เป็นปัจจัยให้ปรากฏปัญญา รู้ปัจจัยของกองที่จะสังขารกันขึ้น
หลักสูตรการศึกษา
1.   หลัก 4 คือ อริยสัจ 4 วิชชา 4
2.   วิธีการ 3 คือ ไตรสิกขา ศีล สมาธิ ปัญญา
3.   วิถีทาง 8 คือ อริยมรรคมีองค์ 8 อย่าง
ข้อ 1 จงศึกษาสิ่งที่สังขาร หรือ วิชชาที่เราทำหน้าที่อยู่ โดยหลักอริยสัจ
1.   จงเห็นรู้ ธาตุหรือคุณสมบัติของนั้น   สภาวธรรม  คืออะไร
2.   จงเห็นรู้ กฎสัจจะของสิ่งนั้น   สัจจะธรรม   มาจากอะไร
3.   จงเห็นรู้ หน้าที่ของสิ่งนั้น  ปฏิบัติธรรม    เพื่ออะไร
4.   จงเห็นรู้ ปรากฏการณ์ของสิ่งนั้น ปฏิเวธธรรม โดยวิธีการอย่างไร
ข้อ 2 เมื่อเห็นวิชชา 4 แล้วก็ปรากฏ ศีล สมาธิ ปัญญา  เป็นเครื่องมือปฏิบัติหน้าที่โดยธรรม
1.   ศีล คือ เห็นความสามัญของสิ่งนั้น คิดโดยความสามัญของเรื่องนั้น (สัมมาทิฏฐิ-สัมมาสังกัป)
2.   สมาธิ คือ ความเห็นความรู้ที่บริสุทธิ์  ความชัดเจนมั่นคง ความว่องไวทันเวลา (บริสุทโธ สมาหิโต กัมนีโย)
3.   ปัญญา คือ ความรู้ในสิ่งที่สังขารกันขึ้นอย่างคบถ้วน
ข้อ 3  เมื่อปฏิบัติหน้าที่โดย ศีล สมาธิ ปัญญา  ก็ปรากฏวิธีทาง อริยมรรคมีองค์ 8 อย่าง คือ
1.   เห็นความสามัญ (สัมมาทิฏฐิ)
2.   คิดโดยความสามัญ (สัมมาสังกัป)
3.   วาจาสัจจะ (สัมมาวาจา)
4.   การกระทำไม่มีตัว (สัมมากัมตะ)
5.   ดำรงชีวิตอย่างปกติ (สัมมาอาชีวะ)
6.   ดำเนินไปโดยความมั่นคง (สัมมาวายามะ)
7.   รู้กิจนั้นต่อหน้า (สัมมาสติ)
8.   เห็นรู้อย่าง บริสุทธิ์ ชัดเจนมั่นคง ว่องไวทันเวลา (สัมมาสมาธิ)
เมื่อทำหน้าที่โดยวิถีทางอริยมรรค ก็ปรากฏความสงบสันติ นิพพาน  จะนิพพานชั่วขณะ หรือ นิพพานถาวร ก็คือคุณสมบัติอย่างเดียวกัน
   จะปรากฏอีก 2 องธรรมคือ
1.   เห็นรู้สิ่งนั้น คบถ้วนโดยญาณ อย่างสามัญ         (สัมมาญาณ)
2.   ปราศจากปัจจัยที่จะมาปรุงแต่ง บริสุทธิ์ อตัมยตา (สัมมาวิมุต)
               นี้คือความที่บริสุทธิ์บริบูรณ์โดยโลกุตรธรรม ๙ อย่าง คือ
มรรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ 
•        อริยมรรค- โสดามรรค อนาคามรรค สกิทานาคามรรค อรหัตมรรค
•        อริยผล- ผลของโสดา ผลของอนาคา ผลของอรหัต
•        นิพพาน
 
 
 
ฝากโลกียธรรมเกิดขึ้นได้อย่างไร
คนประกอบไปด้วยธาตุ  6 คือ
1.   ธาตุดิน
2.   ธาตุน้ำ
3.   ธาตุลม
4.   ธาตุไฟ
5.   อากาศธาตุ
6.   วิญญาณธาตุ
ความเป็นธาตุแบ่งเป็น รูปธาตุ เป็นนามธาตุ   (เป็นฮาร์ดแวร์ กับ เป็นซอฟต์แวร์)
มีความเห็นโดยปกติของความเป็นคนการอุบัติมาเป็นแค่คน มีอายตนใน อาตนะ 6  ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ  อายตนะนอกตนเป็นปัจจัย 6 รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมมารมณ์
     การปรากฏสมุฐาน แห่งภพทรั้ง 3  เมื่อรูปปรากฏในวิญญาณ 6
1.   วิญญาณทางตา
2.   วิญญาณทางหู
3.   วิญญาณทางจมูก
4.   วิญญาณลิ้น
5.   วิญญาณทางกาย
6.   วิญญาณทางใจ
 อายตนะรู้รูปธาตุไม่ได้จรึงให้ความหมายทางดีทางไม่ดีนั้นก็ปรากฏผัสสะ
 
เบญจขันธ์
1.   ผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอารมณ์            (รูปขันธ์)
2.   รู้สึกต่ออารมณ์                            (เวทนาขันธ์)
3.   มันหมายในอารมณ์นั้น                (สัญญาขันธ์)
4.   นึกคิดปรุงแต่งในสิ่งที่มั่นหมายนั้น (สังขารขันธ์)
5.   รู้อารมณ์ที่ปรุงแต่งนั้น                  (วิญญาณขันธ์)
เมื่อขันธ์ 5 ได้หยั่งลงในหมู่สัตว์นั้น เป็นมิจฉาทิฏฐิ เป็นอนุศัยกิเลส เป็น สมุฐานการเกิดภพชาติ ของ กามภพ รูปภพ อรูปภพ เป็นขบวนการวัฏฏะ  เมื่อธาตุรู้ไปรู้ขันธ์ไม่ใช้วิชชา เป็นอวิชชา ก็เกิด ดังนี้
 
มีต่อ 23

วิธีฝึกสติ
1.   เริ่มต้น ให้รู้สิ่งที่ตนพูด พูดเรื่องอะไร ที่พูดต้องการอะไร จงพูดสิ่งที่ถูกรู้ อย่าเอาความรู้มาพูด เอาความรู้ไว้รู้สิ่งที่ถูกรู้   ฝึกจนคล่องแคล่วเป็นบุคลิกภาพของตน
2.   ขั้นที่สอง ให้ฟังคนอื่นพูดว่าพูดอะไร อย่าไปใส่ความหมายดีชั่วต่อคำพูดนั้น  คำพูดทั้งหลายมีอยู่สองอย่างเท่านั้น คือ คำบอกเล่า กับคำถามเท่านั้น    ฝึกให้คล่องแคล่วเป็นบุคลิกภาพของตน
ก็จะทำให้มีสติเป็นปัจจัยให้มีสมาธิทำหน้าที่ต่อกิจการนั้น มีความคิดที่สะอาด มีความรู้ที่สว่างทำกิจอย่างสงบ

ทำไมการศึกษาไทยจึงล้มเหลว
            เพราะเราไปศึกษาสิ่งที่เป็นจุลภาคก่อนแต่กลับไม่รู้สิ่งที่เป็นมหภาค เรามองข้ามสิ่งที่เป็นมหภาคไป จึงไม่ได้ศึกษาในสิ่งที่เป็นมหภาคให้ชัดเจนก่อน  เช่น เมื่อเราจะเรียนการซ่อมรถ ถ้าเราจะต้องไปเรียนเรื่องอะไหล่รถก่อน ทั้งๆที่ยังไม่รู้จักกายภาพของรถหรือลักษณะของรถ แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่าอะไหล่ชิ้นนี้มีคุณสมบัติทำหน้าที่อะไร หรือถ้าหากศึกษาที่จุลภาคอย่างเดียว ก็ไม่ต่างจากที่ว่ารู้ว่าอะไหล่ชิ้นนี้คืออะไร แต่กลับไม่รู้ว่าอยู่ในส่วนไหนของรถ เป็นต้น ซึ่งจะเอาไปทำอะไรได้ เรียนมาให้เขาใช้เท่านั้น คนที่ทำงานที่ยังต้องให้เขาใช้อยู่จะทำงานได้ดีได้อย่างไร นี่คือลักษณะของการศึกษาที่ผิดขั้นตอนที่ไม่เป็นธรรมชาติของวิชานั้นๆ
        และในอีกกรณีหนึ่งคือ การทำปฐมนิเทศสำหรับอธิบายฐานหรือเค้าโครงของสาขาวิชานั้นๆ เช่น สาขาวิชานิติศาสตร์ ต้องให้ทำความเข้าใจก่อนว่านิติคืออะไร และศาสตร์คืออะไร เพื่อจะได้ให้เห็นเค้าโครงและบุคลิกภาพของสาขาวิชานั้น เป็นต้น และทุกๆวิชาก็เช่นเดียวกัน ทั้งสังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ นิเทศศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เป็นต้น และยังต้องสอนให้นักศึกษาอ่านหนังสือได้และอ่านหนังสือออกด้วย เพราะฉะนั้นจึงจะต้องให้เรียนเรื่องของมหภาคก่อนให้ชัดเจน แล้วจึงค่อยเรียนในเรื่องของจุลภาค เพื่อให้รู้เรื่องถึงคุณสมบัติ รู้กฎของธรรมชาตินั้นๆ รู้กิจของธรรมชาตินั้นๆ รู้ผลของธรรมชาตินั้นๆ  จึงจะสมบูรณ์ในการศึกษาวิชานั้นๆ เมื่อรู้วิชาการอย่างชัดเจน ก็จะมี ศีล สมาธิ ปัญญา ไปทำหน้าที่นั้นๆอย่างไม่มีปัญหา และยังได้ผลผลิตที่สมบูรณ์
        ให้แก้ไขในการสอน ใหม่ สอนให้อ่านบทบัญญัติให้ออก ให้รู้บัญญัติ ให้รู้อัฐ ให้รู้ธรรม  ให้สอนมหภาคให้ชัดเจนก่อน แล้วจึงสอนจุลภาคให้ชัดเจน ใช้หลักอริยสัจเป็นการแสดงสอน  หลักอริสัจ 4 คือ  1 สิ่งนั้นคืออะไร 2 สิ่งนั้นมาจากอะไร 3 สิ่งนั้นเพื่ออะไร 4 โดยวิธีใด เมื่อขัดเจนต่อธรรมชาติ 4 อย่างแล้วก็จะมี ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นเครื่องมือทำหน้าที่ต่อวิชานั้นโดยวิถีทางที่สมบูรณ์  นี่ความสัมฤทธิ์ผลของการศึกษา                                                                                                                                                                                                   
การแก้ไขการศึกษาได้อย่างไร
          ก่อนอื่นต้องทำให้ครูรู้จักวิชานั้นให้ครบถ้วน ไม่ใช่ท่องจำมา  ต้องไม่ใช้หลักสูตรที่ต่างหรือเหมือนกัน มาอ้างอิง เทียบเคียง หรือ เปรียบเทียบ ซึ่งจะทำให้ไม่เกิดระบบการท่องจำขึ้นมา  เพราะระบบการใช้หลักสูตรที่ต่างหรือเหมือนกัน มาอ้างอิง เทียบเคียง หรือ เปรียบเทียบนั้น จะทำให้ไม่รู้จักสิ่งนั้น และในเมื่อไม่รู้จักสิ่งนั้นจะเห็นถึงมิติของสิ่งนั้นได้อย่างไร เมื่อเป็นอย่างนี้จะทำให้เกิดการวิเคราะห์ได้อย่างไร และยังทำให้การวิพากษ์วิจารณ์ปรากฏได้อย่างไม่แน่ชัด 
   โทษของการอ่านหนังสือไม่ออก ซึ่งก็หมายถึง อ่านได้แต่กลับอ่านไม่ได้ใจความ หรือ อ่านได้แต่กลับอ่านและเข้าใจผิดไปเอง ดังนั้น การอ่านหนังสือไม่ออกจะส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยิ่งขึ้น เช่น นักเรียนอ่านหนังสือไม่ออก ทำให้การศึกษาล้มเหลว  ผู้ใหญ่อ่านหนังสือไม่ออก ทำให้สังคมย่ำแย่  ผู้บริหารอ่านหนังสือไม่ออก ทำให้องค์กรวุ่นวายไม่สงบสันติ เป็นต้น และในเวลานี้ผู้คนส่วนใหญ่ จบออกมาอ่านหนังสือไม่ออกแต่อ่านได้ จึงทำให้เข้าใจผิดในภาษาที่ใช้กันอยู่มาก เช่น คำว่า “นิติ” หมายถึง กฎหมาย “ศาสตร์” หมายถึง วิชา “การศึกษา” หมายถึง การเรียนรู้  “สังขาร” หมายถึง ร่างกาย “มนุษย์” หมายถึง คน เป็นต้น คนส่วนใหญ่จะ เช่น คำว่า “นิติศาสตร์” ไม่ได้แปลว่า วิชากฎหมายแล้วจะศึกษาได้อย่างไรก็ต้องเรียนแบบท่องจำก็ได้แบบท่องจำเวลาเอาไปใช้ก็ใช้แบบจำจะถูกกาลเทศได้อย่างไรคำว่านิติบุคลก็ไม่รู้คืออย่างไรกฎหมายในเมืองไทยที่แย่อยู่มากก็เพราะอ่านคำว่านิติเป็นอื่นไป
คำว่านิติแปลว่า บทบัญญัติ เราศึกษานิติศาสตร์ที่บทบัญญัติของกฎหมายเพี่อเป็นเครื่องมือในการดูแลในการใช้กฎหมาย นิติบุคลเป็นบุคลโดยบทบัญญัติ  ศาสตร์แปลว่าอาวุธหรือเครื่องมือ  ศึกษาแปลว่า     ฝึกฝนให้ประจัก  กายสังขารแปลว่าร่างกายนี้สังขารกันขึ้น  มนุษย์ แปลว่า มโนนี้พัฒนามาจากสัตว์
อ่านหนังสือออกแล้วก็เห็นวิชาการ วิธีการก็มีขึ้น ปฏิบัติการก็สมบูรณ์ คืออะไร มาจากอะไร เพื่ออะไร โดยวิธีใด
         ต้องให้ครูเริ่มต้น อ่านบัญญัติให้ออก อ่านออกคือต้องรู้บัญญัติ รู้อัฐ รู้ธรรม ทำให้ครูเห็นมิติของวิชาการนั้นเห็นกายภาพ เห็นภราดร เห็นมัตถภาพ ทำให้ครูรู้จักบัญญัติคำของวิชานั้นครูจะนำเสนอให้กับนักศึกษาทันกาลนั้น ไวพจน์ของครูก็จะทำให้นักศึกษาเห็นภาพพจน์  ก็มีความรู้จัก ก็เกิดขบวนการวิเคราะห์ วิจาร วิภาค ศึกษาวิชาไหนก็ประสพความสำเร็จเอาไปใช้ได้ในหน้าที่การงานนั้น                   

การศึกษาที่ยังอาศัยได้ในไทย
       การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พออาศัยได้แค่ 50 เปอร์เท่านั้น  การศึกษาในวัดอาศัยไม่ได้เลยเวลานี้ทำกันหลอกๆทรั้งนั้นกฎระเบียบไม่มีเลยเวลารับนักศึกษาเข้าสถาบันแล้วจะเข้าศึกษาได้อย่างไรมุสากันทั้งวัดคนที่เข้าวัดไปแล้วออกมามีแต่พกความเห็นแก่ตัวกันทั้งนั้นเวลานี้เราหลงประเด็นกันใหญ่ว่าสุขทางโลกไม่ยั่งยืนสุขทางธรรม  มีที่ไหนหรือที่พระพุทธเจ้าแสดงธรรมว่าปฏิบัติธรรมมีความสุขไม่มีอยู่ที่ไหนเลยไม่รู้ไปเอาที่ไหนมาพูดมุสาทั้งนั้น  มีแต่พระพุทธเจ้ากล่าวว่ามาประพฤติพรหมจรรย์ให้สิ้นสุดแห่งทุกข์   เพราะว่าความสุขก็คือความทุกข์ชนิดหนึ่งเท่านั้น นั้นคือทุกข์ที่พอใจ จงมาความเข้าใจเรื่องความสุขกันก่อนที่จะไปหาความสุขทางธรรม ธรรมะไม่ใช่ทำให้คนมีความสุข  ธรรมะทำให้มนุษย์มีความสงบสันตินิพพานเท่านั้น
     ถ้าเรามาศึกษาในสถาบันการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการพอจะอาศัยได้ 50 เปอร์เซ็นเท่านั้นจากนั้นเราต้องแสวงหาเอาเองใช้หลักแสวงหาที่เจ้าชายสิทธัตถะพบความจริงของธรรมชาติ 4 อย่าง คืออริยสัจ เป็นหลักในการแสวงหาเราจะพบทุกสิ่งเราต้องการพบ จะเป็นการศึกษาที่ไปทำหน้าที่ได้อย่างบริสุทธิบริบูรณ์ในหน้าที่การนั้นๆโดยไม่มีปัญหาสงบสันตินิพพาน
      หลักอริยสัจ 4 คือ
1.   ธรรมชาติ =คืออะไร (สภาวธรรม)                                             
2.   กฎธรรมชาติ=มาจากอะไร(สัจธรรม)
3.   หน้าที่ธรรมชาติ=เพื่ออะไร (ปฏิบัติธรรม)
4.   ปรากฏการธรรมชาติ=โดยวิธีใด (ปฏิเวธธธรรม)
เมื่อหลักอริยสัจ 4ขัดเจนก็มี ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นวิธีการปฏิบัติหน้าที่ในวิถีทางอริยมรรคมีองค์ 8 ประการอย่างบริสุทธิบริบูรณ์สงบสันตินิพพานทุกครั้งที่ทำหน้าที่นั้นๆสร้างผลผลิตให้ไม่จนตลอดกาล
(หลัก 4 วิธีการ 3 ปฏิบัติการ 8)

การมีศีล คือ
องค์ประกอบศีล คือ 1 สัมมาทิฏฐิ 2 สัมมาสังกัป เท่านั้นนอกนี้ไม่ใช่  5 ข้อที่กล่าวมานั้นเป็นสิกขาทบ เวลานี้ชาวพุทธกำลังหลงประเด็น สิกขาบทนั้นพระพุทธเจ้าท่านให้ภิกษุสงฆ์ประกาศใช้เมื่อประมาทพรรษาที่ 20 ของพระองค์ ก่อนนี้ไม่มีสิกขาบท คือ อนาปาปาติโมกข์  ที่สวดกันในทุกๆ 15 วัน  ชาวพุทธทั้งหลายลองเอาไปคิดดูให้ดี แล้วก่อนหน้านี้พระพุทธองค์ตรัสรู้ได้อย่างไร  ที่พระพุทธองค์เอามาใช้ทีหลังเพื่อขจักความเป็นคนให้เป็นมนุษย์&
6
บอร์ดสนทนา / ปัญญา คือ
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ มกราคม 25, 2558, 06:22:10 PM »

ปัญญา คือ
ปัญญาขันธ์ มี 2

1.   สัมมาสติ ( รู้กิจต่อหน้า)
2.   สัมมาสมาธิ  (บริสุทโธ สมาหิโต กัมนีโย –บริสุทธิ์ ชัดเจนมั่นคง ว่องไว)
           ปัญญา คือ รู้ครบถ้วนในสิ่งที่สังขารกันขึ้นในการทำหน้าที่นั้นๆ สติเป็น สันทิฏฐิโก เป็นสิ่งที่ถูกเห็น สมาธิเป็นคุณสมบัติของผู้เห็น สังขตธรรมกันขึ้นเป็นองค์แห่งปัญญา  เห็นรู้สิ่งที่สังขารกันขึ้นอย่างครบถ้วนบริสุทธิ์บริบูรณ์  นี้คือปัญญาที่ทำหน้าที่อย่างปราศจากทุกข์ ทำหน้าที่อย่างสงบสันตินิพพาน
         ศีล สมาธิ ปัญญา ในธรรมวินัยของพุทธศาสตร์นี้ เป็นเครื่องมือทำหน้าที่เข้าสู่วิถีทางอริยมรรคาปฏิปทาได้อย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ในองค์ สัมมา 8 ประการ
         จะมี ศีล สมาธิ ปัญญา ได้ต้องเห็นรู้วิชา 4 (อริยสัจ 4)หรือความจริงของสิ่งที่สังขารกันขึ้น อย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ ก็จะมี ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นองค์รวม เข้าสู่ปฏิบัติการโดยอริยมรรคาปฏิปทาอริยสัจ
         นี้หลักสูตรพุทธศาสตร์ คือ
•   อริสัจ 4 (เป็นวิชาการ)
•   ศีล สมาธิ ปัญญา (เป็นวิธีการ)
•   นิโรธคามินีมรรคาปฏิปทาอริยสัจ (เป็นวิถีทางปฏิบัติการ)
            ท่านทั้งหลายจงพิจารนาให้ท่องแท้ก็ปรากฏผลในหน้าที่การงานนั้นอย่างเที่ยงตรง ตามพระพุทธองค์ได้บัญญัติได้แสดงไว้
            นี้คือ จิตที่สะอาด ใจสว่าง ชีวิตสงบ สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ปราศจากโรคทางใจ ปราศจากโรคทางกาย  ไม่เจ็บ ไม่จน ไม่ตาย มีแต่ธรรมชาติล้วนๆดำเนินไปเท่านั้น (สิทธิธัมมา ปวัตตันติ)


7
บอร์ดสนทนา / สมาธิคือ
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ มกราคม 22, 2558, 05:09:36 PM »

สมาธิคือ
สมาธิขันธ์
•   สัมมาวาจา  (วาจาสัจจะ)
•   สัมมากัมมันต  (การทำที่ปราศจากตัวตน )
•   สัมมาอาชีว  (ดำรงชีวิตมั่นคง)
•   สัมมาวายามะ  (ดำเนินไปอย่างมั่นคง)
ประกอบด้วยองค์คุณ
1.   บริสุทโธ  (เพียว)         pure
2.   สมหิโต  (ชัดเจนมั่นคง)concentrate
3.   กัมนีโย  (ว่องไว)          active
          มีความเห็นคิดอย่างเพียวบริสุทธิ์ ก็ปรากฏความชัดเจนมั่นคง รู้ครบถ้วนในสิ่งสังขารนั้นว่องไว
          ดำเนินไปโดยวิถีทางบริขาร 7 ประการ
1.   สัมมาทิฏฐิ  (เห็นความสามัญ)
2.   สัมมาสังกัป (คิดโดยความสามัญ)
3.   สัมมาวาจา (วาจาสัจจะ)
4.   สัมมากัมมันตะ (การกระทำปราศจากตัวตน)
5.   สัมมาอาชีว (ดำรงชีวิตมั่นคง)
6.   สัมมาวายามะ (ดำเนินไปอย่างมั่นคง)
7.   สัมมาสติ (รู้กิจต่อหน้านั้น)
นี้คือสมาธิที่พระพุทธองค์ตรัสรู้ ที่เอามาแสดงมาบัญญัติ ในธรรมวินัยของพุทธศาสตร์
สมาธิ คือ ความคิดสะอาด บริสุทธิ์ ความรู้ก็สว่างขัดเจนมั่นคง  การกระทำกายวาจาใจก็ว่องไวครบถ้วนในสิ่งที่สังขารกันขึ้น
•   คิดสะอาดบริสุทธิ์  (เอาสิ่งที่เห็นต่อหน้ามาคิด)
•   รู้สว่างขัดเจนมั่นคง
•   กระทำว่องไวครบถ้วน
สติเป็นฐานของสมาธิ ฐานมีองค์รวมอยู่ 7 สัมมา เรียกว่าบริขาร 7
        นี้คือสมาธิที่ให้ตรัสรู้ทุกสิ่งทุกอย่างได้ในหน้าที่การงานนั้นได้บรรลุเป้าหมาย  นี้คือ เครื่องมือการทำหน้าที่ การทำหน้าที่ คือ การปฏิบัติธรรม การทำหน้าที่ก็ต้องมีเครื่องมือ เครื่องมือ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา  ในการปฏิบัติธรรม หรือ ปฏิบัติหน้าที่
      ถ้าเป็นศิษย์ตถาคต ต้องทำอย่างอาจารย์ จึงชื่อว่าเคารพอาจารย์
สมาธิที่เจ้าชายสิทธัตถะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า คือ สมาธินี้ คือ องค์คุณ 3 ดำเนินไปโดยบริขาร 7 บริสุทโธ สมาหิโต กัมนีโย =บริสุทธิ์ ชัดเจนมั่นคง ว่องไว = pure
Concentrate active รวมเป็นหนึ่งเดียวเป็นไปตามสวากขาตธรรมเห็นสิ่งนั้นได้ไม่ใช่เรื่องเวลา เรีอกมาดูได้พิสูตรได้นำมาปฏิบัติในหน้าที่การงานนั้นๆได้เป็นปัจจัยให้ปรากฏปัญญาในสิ่งที่สังขารกันขึ้น  นี้ คือ สมาธิที่สมบูรณ์ได้ทุกหน้าที่การงาน ทุกชั่นทุกวรรณะทุกฐาณะรูป


(ป.ล.อย่ามิจฉาทิฏฐิไปเอาจิตคิดนิ่งๆมาเป็นสมาธิอยู่เลยไม่ได้ผลหลอกครับเอามาทำอะไรไม่ได้ในหน้าที่การงาน ถ้าเราทำหน้าที่การงานไม่สำเร็จชีวิตจะดำรงค์อยู่อย่างไรครับ ลองเอาไปคิดดูซิครับ                                     พระพุทธเจ้าแสดงธรรมเพื่อให้สัตว์โลกทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ อยู่อย่างสงบสันตินิพพาน)

8
บอร์ดสนทนา / ศีลคือ
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ มกราคม 12, 2558, 04:49:13 PM »

ผู้ที่มีศีลต้องประกอบด้วยทิฏฐิ 2 คือ
1.   สัมมาทิฏฐิ  (เห็นความสามัญของธรรมชาติสิ่งที่ถูกเห็น)
2.   สัมมาสังกัป  (คิดโดยความสามัญของธรรมชาติสิ่งที่ถูกเห็น)
         มีคุณสมบัติองค์รวม คือศีลในธรรมวินัยของพุทธศาสตร์ที่พระพุทธองค์ได้บัญญัติและแสดงไว้ดีแล้ว ศีลเป็นปัจยาการให้ปรากฏสมาธิ นี้คือศีล
        อย่ามิจฉาทิฏฐิไปเอาสิขาบท 5-8-10-227 มาระวังไม่ล่วงข้อห้ามได้แล้วจะเป็นผู้มีศีลเป็นได้เพียงเป็นผู้ไม่ล่วงข้อห้ามเท่านั้นหาใช่ผู้มีศีลไม่ สิกขาบทเอาไว้ใช้สำหรับบุคลที่ปฏิบัติผิดต่อกติกาขององค์กรนั้น    ผู้ที่ไม่ปฏิบัติผิดในข้อห้ามขององค์กรนั้นไม่ต้องรับข้อห้ามนั้นมาระวัง  คำกล่าวในการรับสิกขาบทยังมีคำว่า มิ หรือ มะ อยู่เลย  มิ คือผิดอยู่จะต้องเอาไประวัง  มะ ไม่ได้ทำผิดในกติกานั้นอยู่แล้ว ไม่ต้องรับเอาไป  จงมาทำความเข้าใจศีลให้จงดี มัวมารักษาสิกขาบทอยู่ เลยไม่มีโอกาสมีศีล จงมาใช้ความปกติมาสิกขาสิ่งที่เกี่ยวคล้องให้เห็นความสามัญของธรรมชาตินั้นก็จะคิดโดยความสามัญได้ นี้คือเห็นแล้วคิด นี้คือศีลมีปัจยาการให้ปรากฏสมาธิ สมาธิมีปัจยาการให้ปรากฏปัญญา   ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นเครื่องมือหรือคุณสมบัติ ที่จะปฏิบัติหน้าที่โดยวิถีทางอริยสัจโดยปราศจากปัญหาสงบสันติ ท่านทั้งหลายเอาไปศึกษาพิสูตรก็จะถึงฝั่งแห่งเวธทันที    ผู้ที่มีศีลปราศจากมิจฉาทิฏฐิ
     

ต่อไปจะว่าด้วยสมาธิ คือ       
       
9
บอร์ดสนทนา / จดหมายถึงผู้สูงอายุ
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ มกราคม 08, 2558, 06:03:40 PM »

จดหมายถึงผู้มีอายุมากทั้งหลาย
           เมื่อเราแก่แล้วจงทำตัวเป็นผู้ที่มีภาระน้อยที่สุดสำหรับลูกหลานและคนใกล้ชิด ก็เพียงพอแล้วสำหรับชีวิตบั่นปลาย ไม่ต้องไปรับอาสาใครเขาหลอก ไม่ต้องทำตนเป็นผู้มีจิตอาสาหลอกครับหมดเวลาแล้ว ไม่ต้องไปแสวงบุญที่ไม่รู้จักจะไปหาบุญที่ไม่มีเสียอีก บุญคืออะไรรู้หรือเปล่า บุญที่เขาใจกันอยู่ บุญทำให้สวย บุญทำให้รวย บุญทำให้โชกดี นั้นเป็นความเข้าใจผิดที่บุคลากรศาสนาบอกไว้โดยความมุสาที่ไม่มีเจตนาโดยมีอวิชา  บุญที่แท้จริงคือ ความ บริสุทธิ์สะอาด ต้องสะอาดทั้งความดี สะอาดทั้งความชั่ว  อาบน้ำหอมก็เปื้อน อาบน้ำเหม็นก็เปื้อนเช่นเดียวกันไม่ต่างกัน  จงมาทำความสะอาดกายและใจ ไม่หลงใหลความดี ไม่เกียดความชั่ว จงมีความสะอาด ก็จะสว่าง เกิดความสงบ นี่และบุญแน่ๆได้ผลเดียวนี้ได้ผลชาตินี้ และ เป็นปัจจัยชาติหน้าทำให้ทำความสะอาดง่ายขึ้น สว่างมากขึ้น มีศีลปในการใช้ชีวิตได้ดีอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ มีความสงบสันตินิพพาน
 
วัยมัชฌิมาสร้างงานไว้ทำตอนวัยสูงอายุดีกว่า
หาเงินไว้กินตอนแก่แล้วไม่ทำงาน
           ชีวิตคืออะไร การมีชีวิตควรจะต้องทำหน้าที่ เพื่อการมีชีวิตในการดำเนินไปอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ทุกๆวัยของชีวิต วัยประถม วัยมัชฌิมา วัยชรา โดยความงามที่ได้ทำหน้าที่ในเพื่อนมนุษย์ญาติมิตรครอบครัวเพื่อนร่วมงาน หน้าที่การงานทำให้เราสร้างพัฒนาการให้กับสุขภาพร่างกายและจิตใจอย่างมีประสิทธิภาพตอบสนองปัจจัยทั้งหลาย ไม่ถูกปัจจัยทั้งหลายกระทำให้แปลผัน  การทำงานทำให้มนุษย์มีศักดิศรี ทำให้มนุษย์มีความศักย์ภาพอิสรภาพ ทำให้มนุษย์มีประโยชน์อยู่อย่างมีประโยชน์ ชีวิตมั่นคงสันติสุขสงบเยนนิพพาน ไม่ถูกพันธนาการของการดูแลของลูกหลาน เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วเมื่อวัยมัชฌิมา จะมาเตรียมยุดงานเมื่อชราลง การที่ไม่ทำงานมีความสุขจริงหรือ ถ้ามีความสุขทำไม่ไปทำงานที่ไม่ใช่หน้าที่เล่าการที่ไม่ทำงานไม่เคยให้ความสุขแก่ใครถาวรเลย จงมาสร้างงานไว้ทำตอนชราไม่ดีกว่าหรือจะได้มีความสงบสันติตลอดทั้งชีวิต
       โดยใช้หลัก 4 ให้ชัดเจนในการเกี่ยวข้องกับปัจจัยทั้งหลาย ก็จะมีศีล สมาธิ ปัญญา เป็นเครื่องมือทำหน้าที่การงานนั้นๆได้อย่างบริสุทธิบริบูรณ์ มีประสิทธิภาพปรากฏประสิทธิผลในการวางระบบไห้กับชีวิตทุกๆคั่นตอนของชีวิต
       จงมาตรัสรู้อริยสัจ 4 ในการงานให้จงได้ อริยสัจ 4 เป็นวิชชาที่ทำให้หน้าที่การงานปราศจากปัญหา อริยสัจ 4 เป็นวิชชาที่บอกความจริงของปัจจัยนั้นๆ อริยสัจ 4 ทำให้เห็นความสามัญของปัจจัยนั้นๆ อริยสัจ 4 ทำให้มนุษย์ มีศีล มีสมาธิ มีปัญญา
    คุณสมบัติของอริยสัจ 4 คือ
1.   ทนต่อการพิสูจน์
2.   ดำรงอยู่โดยไม่อาศัยปัจจัย
3.   มีกิจต่อสังขารทรั้งหลาย(สังขารคือการสังเคราะห์)
4.   มีความสงบสันติ(วิมุต)ที่เรียกมาดูได้


10
บอร์ดสนทนา / ธรรมมะคืออะไร
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ มกราคม 05, 2558, 05:16:22 PM »

ธรรรมมะคือ
ธรรมมะคือ  ธรรมชาติ
ธรรมมะคือ  กฎของธรรมชาติ
ธรรมมะคือ  หน้าที่ตามกฎของธรรมชาติ
ธรรมมะคือ  ผลอันเกิดขึ้นจากการทำหน้าที่นั้น
 
พระพุทธคือ  ความรู้ที่บริสุทธิ์บริบูรณ์
พระธรรมคือ  ธรรมชาติของทุกสิ่งทุกอย่าง โดย ของที่ถูกเห็นโดยความบริสุทธิ์บริบูรณ์
พระสงฆ์คือ  ทำหน้าที่โดยความเป็นธรรมต่อหน้าที่ธรรมชาตินั้น
       ( นี้คือสิ่งที่ท่าน ต้องมี ต้องปรากฏในบุคลิกของท่าน )
 
 
 
     ศีลคืออะไร
     ศีลมาจากอะไร
     ศีลเพื่ออะไร
     ศีลโตยวิธีได
1.   ศีล คือ สัมมาทิฏฐิ  สัมมาสังกัป     คือความเห็นความสามัญของสิ่งที่ถูกเห็น  คิดความสามัญของที่เห็น คือ ศีล   ศีลมิใช่สิกขาบท 5-8-10-227 ถ้ายังละเมิดสิกขาบทเหล่านี้อยู่ก็ต้องละเว้นให้หมดจดก่อนจรึงจะมาสมาทานสัมมาทิฏฐิ (สัมมาทิฏฐิ สมาทานัง สัพพัง ทุกขัง อุปัจจคุง)
2.   ศีล มาจากสมาทานสัมมาทิฏฐิ  (สัมมาทิฏฐิ สมาทานัง สัพพัง ทุกขัง อุปัจจคุง)
3.   ศีล เพื่อดำเนินไปในกิจการนั้นๆโดย มีเทคนิค  โดยมีศิลปะ  [art]
4.   ศีล  โดยวิธีทำให้ เห็นสิ่งที่ถูกเห็น คิดสิ่งที่เห็น โดยความบริสุทธิ์ 
ท่านจงทำความประจักษ์ในคุณสมบัติของศีล ก็จะได้สมาทานสัมมาทิฏฐิ ท่านก็จะมีศีล การที่มีศีลก็จะปรากฏสมาธิ  (บริสุทโธ  สมาหิโต  กรรมนีโย )
 
 
 
1. สมาธิคือ อะไร
2. สมาธิมาจาก อะไร
3. สมาธิเพื่อ อะไร
4. สมาธิโดยวิธีใด
สมาธิ คือ  เอกคตาจิตที่มีนิพพานเป็นอารมณ์
สมาธิ มาจาก  ความบริสุทธิ์หนึ่งเดียว  ความชัดเจนมั่นคง  ความว่องไว (บริสุทโธ  สมาหิโต  กรรมนีโย)
สมาธิ เพื่อเห็นกองสังขารให้ครบถ้วน  คือสภาวะของปัญญา
สมาธิ  โดย  มีศีล เห็นความสามัญสิ่งที่มาสัมผัสกับ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ  คิดความเป็นสามัญของสิ่งที่มาสัมผัส    โดยความบริสุทธิ์ หนึ่งเดียว จงเห็นสิ่งที่ถูกเห็น จงรู้สิ่งที่ถูกรู้  อย่าเอาความรู้ไปรู้   อย่ารู้เห็น  จงเห็นรู้   เมื่อเห็นรู้อะไรเพียวๆแล้วก็จะ ชัดเจนมั่นคง เมื่อมีความมั่นคง ก็จะว่องไว พร้อมที่จะทำหน้าของ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ  โดยปราศจากนิวรณ์  5 ประการ
1.   กามฉันทะ / ความพอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจ[content]
2.   พยาบาท / การคิดปองร้ายผู้อื่น[vengefulness]
3.   ถีนะมิทธะ / ความที่จิตหดหู่    เชื่องซึม[to lament]
4.   อุทธัจจะกุกกุจจะ / ความฟุ้งซ่าน รำคาญใจ[to be annoyed by sty.]
5.   วิจิกิจฉา / ความลังเลสงสัย[to suspect]
ก็จะปรากฏความ  สะอาด  สว่าง  สงบ   ไม่เกิด แก่ เจ็บ ตาย ในโอปาฏิกะ กำเนิด  ก็จะทำหน้าที่โดยมัชฌิมาปฏิปทาโดยปราศจากทุกข์  เราก็คือ ธรรมชาติ  ทำหน้าที่ๆธรรมชาติมีให้ทำ  ทำเสร็จแล้วก็ส่งคืนธรรมชาติไป ก็จะนิพพานทุกๆหน้าที่      นิพพานเป็นบรมธรรม เป็นอย่างยิ่ง  พระพุทธเจ้าท่านกล่าว
องค์ของสมาธิ  ประกอบด้วยองค์ 3
1.   บริสุทโธ    [เพียว pure]
2.   สมาหิโต   [ชัดเจนมั่นคง  concentrate ]
3.    กัมนีโย  [พร้อมที่จะทำหน้าที่นั้นๆ  activeness ]
 
 
?     ปัญญา คือ อะไร
?     ปัญญา มาจากอะไร
?     ปัญญา เพื่อ อะไร
?     ปัญญาดำเนินไปโดยวิธีใด
 
1.   ปัญญา คือ ความเห็นรู้คบถ้วน  ในกองสังขารนั้นโดยในสัจจะ 4 อีกในหนึ่งหรือโดยวิชชา 4  จรึงบัญญัติว่าปัญญา
2.   ปัญญา มาจาก ธรรมชาติธาตุรู้ กลับธรรมชาติสิ่งที่ถูกรู้  ปฏิจปสมุปันธรรมกันขึ้น   สมังคีกันโดยความสมบูรณ์
3.   ปัญญา เพื่อ สมังคี กลับ ศีล สมาธิ ปรากฏเป็นไตรสิกขา เพื่อเป็นเครื่องมือ ทำหน้าที่ของธรรมชาติโดยธรรมชาติ ก็จะดำเนินไปโดยวิถีทางมัชฌิมาปฏิปทา
4.   ปัญญา ดำเนินไปโดยทำหน้าที่อย่างสมบูรณ์กลับทุกสิ่งที่สัมผัสเกี่ยวคล่อง ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ  โดยวิถีทางมัชฌิมาปฏิปทา เป็นวิถีทางที่ปราศจากทุกข์  เพราะไม่ได้เกิดจะเป็นทุกข์ได้อย่างไร  การเกิดทุกครั้งเป็นทุกข์ทุกครั้ง  การที่ทำหน้าที่โดยมีวิธีการ 3 อย่าง คือมี ศีล สมาธิ ปัญญา จรึงได้ทำหน้าที่โดยหน้าที่ โดยเห็นวิชชา 4  หรือสัจ 4 อย่างของสิ่งที่สังขารกันขึ้น  จึงปรากฏวิธีการ 3 อย่าง เพื่อทำหน้าที่ๆไม่มีคนทำ มีแต่การกระทำกลับสิ่งที่ถูกกระทำ  จึงได้ปราศจากเจตนา  ตามที่พุทธพจกล่าวว่า (เจตนาหัง ภิกขเว กัมมัง ) คำว่าเจตนาคือการกระทำที่มีผู้กระทำจึงปรากฏการเกิด ถ้าเกิดแล้วจะไม่ทุกข์ได้อย่างไร  ความเกิดเป็นสิ่งที่สังขารกันขึ้น เป็นธรรมชาติที่มีลักษณะ 3 อย่าง    (1) มีธรรมชาติเป็นทุกข์ มีภาพทนอยู่สภาวะเดิมไม่ได้ (2) มีธรรมชาติเปลี่ยนแปลง รู้สึกต่ออารมณ์ (3) มีธรรมชาติมิใช่ตัวตน อาศัยการสังขารกันขึ้น   
                       เมื่อเห็นรู้สัจจะ 4 อย่างแล้วก็จะมีเครื่อง 3 อย่างทำหน้าที่ของธรรมชาติโดยธรรมชาติ นั้นคือวิถีทาง 8 อย่าง คือมรรคมีองค์ 8 เมื่อทำหน้าที่ๆสมบูรณ์ ก็ผลิตผลก็สมบูรณ์ สร้างศักยภาพให้กับผู้ทำหน้าที่ ก็จะตั้งบนวิหารธรรมของสมัตตะ 10 อย่าง  มีธรรมเป็นกัญยามิตร จะถึงความไม่ตาย มัชจุราชมองไม่เห็นตัวสงบสันติ  สะอาด สว่าง สงบ ฯ
   เมื่อท่านอุบัติขึ้นมาในโลก นี้แล้ว ทำหน้าที่ ได้เท่านี้ก็เพียงพอแล้วมิใช่หรือ จะต้องการอีกเล่า
 
 
หลักของพุทธศาสตร์มีวิชชา 4 อย่าง ปฏิบัติการ 3 อย่าง
วิชชาการ 4 อย่างคือ อริยสัจ
1.   ทุกขอริยสัจ-สภาวธรรม-ธรรมชาติ
2.   ทุกขสมุทัยอริยสัจ-สัจธรรม-กฎของธรรมชาติ-ขบวนการของธรรมชาติ
3.   ทุกขนิโรธอริยสัจ-ปฏิบัติธรรม-หน้าที่ของธรรมชาติ
1.   ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ-ปฏิเวธธรรม-ผลของธรรมชาติ-ปรากฏการณ์ของธรรมชาติ
คุณสมบัติของอริยสัจ
      ลักษณะ?ทนต่อการพิสูจน์
      อาการ?ดำรงอยู่โดยไม่ต้องอาศัยเหตุปัจจัย
      กิจจะ?มีความเป็นสัจจะในสังขารทั้งหลาย ครอบงำสังขารทั้งหลาย
      รส?มีวิมุตเป็นเอหิปัสสิโก เรียกมาดูได้
คุณสมบัติของผู้เห็นรู้อริยสัจ (เห็นรู้ธรรม)
      สัจจานุรักขนา-ตามรักษาซึ่งสัจจะ
      สัจจานุโพธา-ตามรู้ซึ่งสัจจะ
      สัจจานุปัตติ-ตามถึงซึ่งสัจจะ
ปฏิบัติการ 3 อย่างคือ ศีล สมาธิ ปัญญา
1.   (ศีล) ? คุณสมบัติของผู้มีศีล? สัมมาทิฏฐิ  สัมมาสังกัป ?เห็นความสามัญ ดำริความสามัญ
2.   (สมาธิ)บริสุทโธ สมาหิโต กัมนีโย  ?คุณสมบัติผู้มีสมาธิ? สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ-วาจาสัจ การกระทำที่ปราศจากตัวตนดำรงค์ชีวิตโดยธรรม ดำเนินไปโดยธรรม
3.   (ปัญญา)  ?คุณสมบัติของผู้มีปัญญา? สัมมาสติ สัมมาสมาธิ เห็นรู้ในกองสังขารธรรมคบอริยสัจ 4
 
(ถ้าผู้ไดเห็นธรรม 4 อย่างผู้นั้นเห็นพุทธ  ผู้นั้นก็จะ เป็นพระพุทธ  เห็นพระธรรม  เป็นพระสงฆ์ มี ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นปฏิบัติธรรมโดยมัชฌิมาปฏิปทา โดยปราศจากการเกิดอีกต่อไป)  การเกิดทุกครั้งเป็นทุกข์ทุกครั้ง ถ้าไม่เกิดจะเอาอะไรมาเป็นทุกข์ ทำไม่จึงต้องมาดับทุกข์   ถ้ามีทุกข์แล้วจะดับทุกข์ได้อย่างไร เปรียบเหมือนไฟติดแล้วจะไปดับไฟจะดับได้อย่างไร   ทำไมไม่ทำให้ปัจจัยที่ทำให้ไฟติดไม่สังขารกัน ไฟก็ไม่ติด  ก็เมื่อไฟไม่ติดจะมีความร้อนได้อย่างไร  ก็เช่นเดียวกันเมื่อไม่เกิดก็ไม่เป็นทุกข์ อย่าให้เหตุปัจจัยสังขารกันขึ้นเป็นเราของเรา อย่างที่คำบาลีกล่าวว่า  (อะนิจจา  วะตะ  สังขารา  อุปปาทะวะยะธัมมิโน  ปัชชิตวา  นิรุชฌันติ  เตสัง  วูปะสะโม  สุโข)   สิ่งที่ปรุงกันไม่คงที่วนเวียน ไปเสียจากความหมาย ก็ปราศจากสิ้นเชิง ปลงแล้วซึ้งทุกข์ในที่นั้น     ถ้าท่านเห็นสัจธรรมในกองสังขาร  สิ่งที่อยู่ต่อหน้าเวลานี้เดี่ยวนี้  นี่คือใบไม้ที่อยู่ในมือแม้แต่เล็กน้อยเราก็ใช้ประโยชน์ได้   ส่วนใบไม้ที่มากมายที่ยังไม่ได้อยู่ในมืออย่าเพิ่งไปรู้มันเลย  ไว้เมื่อมันมาอยู่ในเมื่อคอยรู้มันเถิดฯ
 
 
 
ว่าด้วยเรื่องสติปัสฐาน 4
กาย  เวทนา  จิตต  ธรรม
   ก่อนอื่นต้องรู้จักแจ้งในตัวเราเองก่อน คือเบญจขันธ์ ทั้ง 5 อย่าง คือรู้จักอารมณ์ของตัวเราเอง เป็นสมุฐานของการเกิดภพชาติ   เพราะว่าฐาน 4 เป็นที่ตั้งแห่งกิจกรรมของเรา นั่ง ยืน เดิน นอน ถ้าเราไม่รู้อารมณ์ 5 อย่างของเราๆก็เอาอารมณ์ในจำนวน 5 อย่างเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างในจำนวน 5 อย่างนั้น ไปรู้สิ่งที่ถูกรู้เสียก่อน ตามอนุสัยเดิม  ?อยตนนั้นหรือสิ่งนั้นก็ถูกเติมธาตุอะไรลงไปอีกหนึ่งธาตุ หรือหลายธาตุ แล้วจึงได้รู้ ก็ถูกด้วย แต่ทว่าถูกอย่างทีปรุงขึ้นใหม่ นี่แหละคือรู้แบบอวิชชา ไม่รู้ความเป็นไปตามของเดิม เอาอารมณ์ จำนวน 5 อย่างไปเพิ่มเดิมแล้วจึงรู้ เจ้าตัวจึงว่ารู้ถูกแล้ว ก็ถูกแต่ถูกอย่างไรไม่รู้ จึงทำกิจกรรมนั้นไปโดยไม่รู้จบ นี่คือ วตสังขารา ที่ว่าไว้ในบังสุกุลตาย

 
หน้า: [1] 2 3