ศึกษาไตรสิกขา ศึกษาไตรสิกขา


ข้อมูลเจ้าของประกาศ/ผู้โพส

admin

  • Administrator
  • Newbie
  • *****
    • ดูรายละเอียด
  • ชื่อ-นามสกุล: อ๊อด BR
  • เบอร์ติดต่อ/โทรศัพท์มือถือ: 0985953696
  • ที่อยู่/สถานที่ติดต่อ: ละหานทราย
  • ระบุจังหวัด: บุรีรัมย์

ข้อมูลประกาศ

« เมื่อ: ธันวาคม 29, 2557, 12:40:52 AM เข้าชม 6831 ครั้ง| 0 คอมเมนต์ »



  ประเภท : บอร์ดสนทนา                


รายละเอียดประกาศ




จงมาศึกษาไตรสิกขา
     ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา
      ศีล สมาธิ ปัญญา คือเป็นเครื่องมือที่จะปฏิบัติหน้าที่นั้นๆโดยปรากฏวิถีทาง ที่ปราศจากทุกข์ โดยมัชฌิมาปฏิปทาอริยสัจ
                  ถ้าจะมี ศีล สมาธิ ปัญญาได้ก็ต้องเห็นความจริงของสิ่งที่สังขารกันขึ้น เพราะเรามีหน้าที่ที่จะทำกับสิ่งที่สังขารทั้งนั้น สิ่งที่สังขารกันขึ้นมีลักษณะเฉพาะของธรรมชาติ คือ ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา  การที่เห็นความจริงของสิ่งที่สังขารกันขึ้น เป็นความเห็นที่ไปเสียข้าศึก ก็จะปราศจาก อคติ อัตตา อวิชชา   มีแต่ สติ อนัตตา วิชชา เท่านั้น นี้คือการ เห็น รู้ อริยสัจ   นี้คือที่พระพุทธองค์ตรัสรู้ มีทางเดียวเท่านั้น ทางอื่นไม่ใช่ เราต้องกำเนินทางนี้ ที่พระพุทธองค์ ดำเนินมาแล้ว พระพุทธองค์พบในคืน ข้างขึ่น 15 ค่ำเดือน 6 ก่อนพุทธศักราศ 80 ปี  เจ้าชายสิตธัตถ ออกบวชเมื่ออายุได้ 29 ปี แสวงหาความรู้ที่จะไม่ต้องตาย ไปหาเรียนรู้ตามสำหนักต่างๆ จบหลักสูตรทั้งหมดไม่พบคำตอบ ได้ข้อมูลมาก จรึงเอาข้อมูลเล่านั้น มาพิจารนาหาความจริงของปัจจัยเหล่านั้น ก็ได้พบความจริงของสิ่งที่สังขารกันขึ้น นั้นคืออริยสัจ 4 ประการ การที่ปัจจัยเหล่านั้นสังขารกันได้ ก็เพราะปัจจัยเหล่านั้นมีคุณสมบัติเฉพราะสิ่งนั้น มีความเป็นธาตุ มีความเป็นธรรม สิ่งทั้งหลายปรากฏได้ โดยมีเหตุให้ปัจจัยทั้งหลายให้สังขารกันขึ้น ไม่ใช่สิ่งหนึ่งสิ่งใด ไม่ใช่สัตว์ตัวตนบุคล จึงไม่คงที่ และ คงรูป  (อนัตตา อนิจจัง ทุกขัง)  ความเห็นจงเป็น สัจจะญาณ กิจจะญาณ กตญาณ ในสิ่งที่สังขารกันขึ้น
           ก็จะมี ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นเครื่องมือทำหน้าที่นั้นๆ การทำหน้าที่ก็จะดำเนินไปโดยปราศจากทุกข์ ไม่มีทุกข์ที่จะต้องมาดับอีกต่อไป  นี้คือ (อาทิกัลยาณัง มัชเฌกัลยาณัง  ปริโยสากัลยาณัง)

สรุป คือ
1.        มี อริยสัจ 4 ประการ เป็นหลักวิชชา กับทุกสิ่งที่สังขารกันขึ้น
2.        จะมี ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นเครื่องมือดำเนินการ
3.        ปรากฏ อริยมรรค มีองค์ 8 เป็นวิถีทางของการปฏิบัติหน้าที่นั้นๆ